|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
13,0047,001,"คำขอว่า "" อาจริโย เม ภนฺเต โหหิ, อายสฺมโต นิสฺสาย วจฺฉามิ "" "
|
|
13,0047,002,"๒ หน ซึ่งแปลว่า "" ขอท่านจงเป็นอาจารย์ของข้าพเจ้า ๆ จักอยู่"
|
|
13,0047,003,"อาศัยท่าน "" ภิกษุผู้รับให้พึ่งพิง ได้ชื่อว่าอาจารย์ ซึ่งแปลว่า "
|
|
13,0047,004,ผู้ฝึกมารยาท ภิกษุผู้อิงอาศัยได้ชื่อว่า อันเตวาสิกหรืออันเตวาสี
|
|
13,0047,005,ซึ่งแปลว่า ผู้อยู่ในสำนัก. อาจารย์นี้ ในบาลีหมายเอาภิกษุผู้ให้
|
|
13,0047,006,"นิสัยแทนอุปัชฌายะเท่านั้น, แต่ในอรรถกถานับอาจารย์เป็น ๔ คือ"
|
|
13,0047,007,ท่านผู้ให้สรณคมน์เมื่อบรรพชา<SUP>๑</SUP> ท่านผู้ลวดกรรมวาจาเมื่ออุปสมบท
|
|
13,0047,008,ท่านผู้ให้นิสัย และท่านผู้สอนธรรม จะให้รู้ว่าเป็นอาจารย์ในฝ่าย
|
|
13,0047,009,"อะไร ก็ออกชื่อกิจนั้นด้วยดังนี้ว่า ปัพพชาจารย์ อาจารย์ในบรรพชา,"
|
|
13,0047,010,"อุปสัมปทาจารย์ อาจารย์ในอุปสมบท, นิสสยาจารย์ อาจารย์ผู้ให้"
|
|
13,0047,011,"นิสัย, อุทเทสาจารย์ อาจารย์ผู้บอกธรรม, จัดนิสสยาจารย์ไว้ใน"
|
|
13,0047,012,ลำดับเป็นที่ ๓. อันเตวาสิกก็ได้ชื่อตามนัยนั้นว่า ปัพพชันเตวาสิก
|
|
13,0047,013,"อันเตวาสิกในบรรพชา, อุปสัมปทันเตวาสิก อันเตวาสิกในอุปสมบท"
|
|
13,0047,014,"นิสสยันเตวาสิก อันเตวาสิกผู้ถือนิสัย, ธัมมันเตวาสิก อันเตวาสิก"
|
|
13,0047,015,ผู้เรียนธรรม. ความสนิทสนมและความเอื้อเฟื้ออันอาจารย์และ
|
|
13,0047,016,อันเตวาสิกจะพึงแสดงแก่กันนั้น ก็เช่นเดียวกับอุปัชฌายะและ
|
|
13,0047,017,สัทธิวิหาริก เพราะจะต้องนับถือกันจริง ๆ ต่างฝ่ายต่างจะรอพอ
|
|
13,0047,018,ให้รู้ว่าเป็นสภาคกันโดยความประพฤติแล้ว จึงขอจึงให้นิสัย ก็ควร
|
|
13,0047,019,ทรงพระอนุญาต. ความระงับแห่งนิสัยจากอาจารย์ ก็มีเพราะเหตุ
|
|
|