dhamma-scholar-book / 16 /160001.csv
uisp's picture
init upload
c5b6280
raw
history blame
2.73 kB
Book,Page,LineNumber,Text
16,0001,001,วินัยมุข เล่ม ๓
16,0001,002,กัณฑ์ที่ ๒๓
16,0001,003,สังฆกรรม
16,0001,004,สังฆกรรมเกิดขึ้นด้วยอย่างไร ได้กล่าวแล้วในอุปสัมปทา-
16,0001,005,กัณฑ์ในเล่ม ๑ ในกัณฑ์นี้ จักแจกประเภทแห่งสังฆกรรมนั้นให้
16,0001,006,พิสดารออกไป.
16,0001,007,สังฆกรรม จำแนกออกเป็น ๔ ประเพท เรียกโดยชื่อ คือ
16,0001,008,อปโลกนกัมม์ ๑ ญัตติกัมม์ ๑ ญัตติทุติยกัมม์ ๑ ญัตติจตุตถกัมม์ ๑
16,0001,009,กรรมอันทำด้วยการบอกกันในที่ประชุมสงฆ์ ไม่ต้องตั้งญัตติ
16,0001,010,คือคำเผดียง ไม่ต้องสวดอนุสาวนา คือประกาศความปรึกษาและ
16,0001,011,ตกลงของสงฆ์ เรียกอปโลกนกัมม์ มี ๕ สถาน คือ นาสนะสามเณร
16,0001,012,ผู้กล่าวตู่พระผู้มีพระภาคเจ้า เช่นในสิกขาบทที่ ๑๐ แห่งสัปปาณวรรค
16,0001,013,"ในปาจิตติยกัณฑ์ เรียกนิสสารณา, รับสามเณรเห็นปานนั้น ผู้ประ-"
16,0001,014,"พฤติเรียบร้อยแล้วให้เข้าหมู่ได้อีก เรียกโอสารณา, บอกขออนุญาต"
16,0001,015,"ปลงผมคนผู้จะบวชอันภิกษุจะทำเอง เรียกภัณฑูกัมม์, ประกาศลง"
16,0001,016,พรหมทัณฑ์ คือไม่ว่ากล่าวภิกษุหัวดื้อว่ายาก เช่นทำแก่พระฉันนะ
16,0001,017,เมื่อพระศาสดานิพพานแล้ว เรียกพรหมทัณฑ์. ยังมีกัมมลักขณะ
16,0001,018,อีกอย่างหนึ่ง มีตัวอย่างในฝ่ายภิกษุณีมาก่อน ภิกษุแสดงความโลน