dhamma-scholar-book / 19 /190023.csv
uisp's picture
init upload
c5b6280
raw
history blame
4.01 kB
Book,Page,LineNumber,Text
19,0023,001,เพราะอากาศต้องปะทะน้ำ อัดตัวเข้า น้ำเข้าไปอีกไม่ได้นั้น เพราะ
19,0023,002,อากาศอัดตัวเต็มที่แล้วปะทะอยู่ คราวนี้เปิดนิ้วมือจาท่อข้างบนแต่วาง
19,0023,003,ไว้ตรงปากท่อ จุ่มกระบอกลงไปอีก คงจะรู้สึกว่าน้ำเข้าไปได้อีก ใน
19,0023,004,ขณะเดียวกันนิ้วมือได้รับสัมผัสเย็นฉิว ๆ ขึ้นมาจากท่อ ธาตุที่ขึ้นมา
19,0023,005,ถูกนิ้วมือนี้คืออากาศ. อีกอย่างหนึ่ง ขณะที่ไปในยานที่แล่นโดยเร็ว
19,0023,006,ได้สัมผัสลมเป็นอันมาก แต่ข้างทาง ต้นไม้นิ่งอยู่ ไม่ไหว ลมที่
19,0023,007,กระทบวู่ ๆ นั้น อากาศนี้เอง ยานเดินโดยเร็วปะทะอากาศโดยแรงจน
19,0023,008,รู้สึกสัมผัส หากจะเดินเท้าก็ไม่รู้สึก. ท่านพบอากาศธาตุเข้าแล้ว
19,0023,009,จึงได้เติมขึ้นอีกอย่างเป็นธาตุ ๕ ดังแสดงไว้ในจุลลราหุโลวาทสูตร
19,0023,010,แต่นักปราชญ์ในชั้นหลังกล่าวว่า วาโยกับอากาศเป็นธาตุเดียวกัน วาโย
19,0023,011,ก็คืออากาศที่เดินกำลังแรงนั้นเอง ข้อนี้เป็นความจริงอุดหนุนการจัด
19,0023,012,ธาตุ ๔ ของเดิมให้มั่นเข้า. ในที่นี้จักกล่าวเป็นธาตุ ๔ พอสมแต่ชื่อ
19,0023,013,ของกัมมัฏฐานบทนี้.
19,0023,014,ธาตุ ๔ คือ ปฐวี อาโป เตโช วาโย นี้ มีทั้งภายนอกภายใน
19,0023,015,ธาตุภายนอก เช่นภูเขา แม่น้ำ กองไฟ ลมพัด โดยลำดับกัน ธาตุ
19,0023,016,เป็นภายในนั้น คือที่คุมเข้าเป็นร่างกายของสัตว์ ส่วนที่แข้นที่แข้.
19,0023,017,มี ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เป็นต้น เป็นปฐวีธาตุ.
19,0023,018,ส่วนที่เหลวไม่แข้นเหมือนปฐวี เอิบอาบอยู่ในปฐวี รักษาปฐวีให้สด
19,0023,019,อยู่ เช่นโลหิต มันข้น มันเปลว และเหงื่อเป็นต้น เป็นอาโปธาตุ.
19,0023,020,ส่วนที่ร้อนอบอุ่นรักษาปฐวีไม่ให้เน่า คือไออุ่นเกิดแต่หายใจสูดอากาศ
19,0023,021,เข้าไปปรุงโลหิตที่เป็นไปโดยปกติ หรือที่แรงจัดขึ้นในเวลาเป็นไข้