dhamma-scholar-book / 29 /290007.csv
uisp's picture
init upload
c5b6280
raw
history blame
2.99 kB
Book,Page,LineNumber,Text
29,0007,001,<B>ความหมายของคำว่าธรรมะ</B>
29,0007,002,หมายถึงสิ่งทุกสิ่ง ตั้งแต่สิ่งที่เห็นและไม่เห็น ใจนึกถึงรูปธรรม
29,0007,003,objective นามธรรม subjective หมายถึงหน้าที่ ๆ ตนต้อง
29,0007,004,ปฏิบัติตามกฎธรรมชาติ หมายถึงสิ่งหรือสภาพที่ทรงตัวเองไว้ เคยเป็น
29,0007,005,อยู่อย่างไรก็คงเป็นอยู่อย่างนั้น การทรงตัวเองไว้ได้นี่แหละเรียกว่า
29,0007,006,ธรรมะ ถ้าเป็นอย่างดีก็ทรงความดีไว้ตลอดไป ถ้าเป็นอย่างชั่วก็ทรง
29,0007,007,ความชั่วไว้ตลอดไป ถ้าไม่ดีไม่ชั่วเป็นกลาง ๆ ก็ทรงความเป็นกลาง ๆ
29,0007,008,อยู่อย่างนั้น
29,0007,009,ลักษณะทั่วไปของธรรมะมีอยู่ ๓ อย่างคือ อย่างดีเรียกว่า กุศล-
29,0007,010,ธรรม อย่างชั่วเรียกว่า อกุศลธรรม อย่างกลาง ๆ ไม่ดีไม่ชั่วเรียกว่า
29,0007,011,อัพยากฤตธรรม ประเภทของธรรมะมี ๓ ประการ คือ
29,0007,012,๑. ธรรมที่ต้องศึกษาเล่าเรียน เรียกว่า ปริยัติธรรม
29,0007,013,๒. ศึกษาแล้วปฏิบัติตาม เรียกว่า ปฏิบัติธรรม
29,0007,014,๓. ได้ผลจากการปฏิบัตินั้น เรียกว่า ปฏิเวธรรม
29,0007,015,ธรรมะโดยทั่วไปมี ๓ คือ
29,0007,016,๑. จริยธรรม เป็นข้อปฏิบัติทั่ว ๆ ไป
29,0007,017,๒. สัจจธรรม ความจริงที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้
29,0007,018,๓. ปรมัตถธรรม ธรรมชั้นสูง
29,0007,019,หน้าที่ของธรรมะมี ๓ ประการ คือ
29,0007,020,๑. ธรรมะที่เป็นส่วนเหตุ เช่น สติปัฏฐาน ๔ ตัณหา ความ
29,0007,021,อยากเป็นต้น