|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
30,0013,001,ดังพรรณามาฉะนี้.
|
|
30,0013,002,๑๖/๑๑/๕๒
|
|
30,0013,003,ถ. ขันติโสรัจจะ เป็นธรรมทำให้งาม ไม่ควรค้านไม่ใช่หรือ
|
|
30,0013,004,ถ้าเช่นนั้น เมื่อผู้ปกครองลงโทษในเวลาที่ท่านทำผิด ท่านคงนึกว่า
|
|
30,0013,005,ไฉนท่านผู้ปกครองจึงไม่ใช้ขันติโสรัจจะละซิ ?
|
|
30,0013,006,ต. ขันติโสรัจจะ เป็นธรรมทำให้งามจริงในเมื่อใช้ถูก
|
|
30,0013,007,ฐานะ ถ้าใช้ผิดฐานะ ย่อมเป็นเหตุให้เสียหายได้ เช่น ผู้ปกครองหมู่คณะ
|
|
30,0013,008,ถ้าบริษัทของตนเกิดกำเริบ จะใช้ขันติโสรัจจะในเวลาเช่นนั้น ย่อม
|
|
30,0013,009,ไม่เหมาะ เป็นเหตุให้บริษัทละเลิง ย่อมต้องกำราบเพื่อให้สงบ ถ้า
|
|
30,0013,010,ใช้ในเวลาที่ประสบเหตุอันควรอดทน ไม่แสดงกิริยาเสียอกเสียใจ
|
|
30,0013,011,หรือแค้นเคืองให้ปรากฏ นั่นแลเป็นธรรมทำให้งามจริง.
|
|
30,0013,012,๘/๑๑/๕๘
|
|
30,0013,013,ถ. มีโบราณภาษิตว่า ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง ดังนี้
|
|
30,0013,014,เป็นภาษิตที่ค้านไม่ได้. ส่วนทางศาสนานิยมว่า อะไรที่ทำบุคคลให้
|
|
30,0013,015,งาม ? และเข้ากันได้ไหมกับภาษิตในอย่างข้างต้น ? จงอธิบาย.
|
|
30,0013,016,ต. ทางศาสนานิยมว่า ขันติ ความอดทน ๑ โสรัจจะ ความ
|
|
30,0013,017,เสงี่ยม ๑ ทำให้บุคคลงาม. เข้ากันได้ อธิบายว่า ไก่ ถ้าหากไม่มี
|
|
30,0013,018,ขนเป็นเครื่องประดับตบแต่ง ก็ลุ่นๆ ไม่สะอาดตา ไม่เป็นสัตว์ที่
|
|
30,0013,019,น่าดูฉันใด คนที่ปราศจากเครื่องตกแต่งทั้งภายนอกและภายใน กล่าว
|
|
30,0013,020,คือทั้งทางกายและใจ ก็ไม่น่าดู ไม่น่าชม และเป็นผู้ไม่งามฉันนั้น
|
|
30,0013,021,"คำว่า ""แต่ง"" แม้คนโดยมากมักจะหมายเอาแต่เพียงการตกแต่ง"
|
|
|