dhamma-scholar-book / 31 /310036.csv
uisp's picture
init upload
c5b6280
raw
history blame
2.75 kB
Book,Page,LineNumber,Text
31,0036,001,สิกขาจงมีเกี่ยวถึงใจและความเห็นด้วย.
31,0036,002,๒๔๕๙-๖๒
31,0036,003,สิกขาบท
31,0036,004,ถ. อะไรเรียกว่าสิกขาบท ?
31,0036,005,ต. มูลบัญญัติ คือข้อที่ทรงตั้งไว้เดิม และอนุบัญญัติ คือข้อที่
31,0036,006,ทรงเพิ่มเติมทีหลัง รวมทั้ง ๒ อย่างนี้เข้าด้วยกัน เรียกว่าสิกขาบท.
31,0036,007,๒๔๖๒
31,0036,008,ถ. สิกขาบทต่างจากสิกขาอย่างไรบ้าง ? จงอธิบายพอได้ความ.
31,0036,009,ต. สิกขาบทต่างจากสิกขาดังนี้ สิกขาบทได้แก่พระบัญญัติมาตรา
31,0036,010,หนึ่ง ๆ เหมือนกฎหมายของบ้านเมืองที่ตั้งไว้เป็นมาตรา ๆ คืเป็น
31,0036,011,ข้อ ๆ เป็นข้อห้ามสำหรับบรรพชิตโดยตรง. ส่วนสิกขาได้แก่ข้อที่
31,0036,012,บรรพชิตพึงศึกษา มี ๓ อย่าง คือ ศีล สมาธิ ปัญญา.
31,0036,013,ส. ป.
31,0036,014,ถ. สิกขาบทเช่นไร เรียกว่าอาทิพรหมจริยกาสิกขา ?
31,0036,015,ต. สิกขาบทที่ทรงตั้งไว้เป็นพุทธอาณา ซึ่งจัดเป็นข้อห้ามอัน
31,0036,016,เป็นส่วนเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ เช่นห้ามฆ่าสัตว์เป็นต้น เช่นนี้เรียก
31,0036,017,ว่าอาทิพรหมจริยกาสิกขา.
31,0036,018,ส. ป.
31,0036,019,ถ. สิกขาบทเช่นไร เรียกว่าอภิสมาจาริกาสิกขา ?
31,0036,020,ต. สิกขาบทที่ทรงตั้งขึ้นด้วยความเป็นขนบธรรมเนียม เช่น
31,0036,021,สอนให้นุ่งห่มให้เรียบร้อย ห้ามเล่นอนาจารต่าง ๆ เป็นต้น เรียกว่า