|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
39,0029,001,ดับกิเลสอย่างสิ้นเชิงของท่านผู้บรรลุอรหัตเป็นพระอรหันต์ในขณะที่ท่าน
|
|
39,0029,002,ยังมีชีวิตอยู่ได้ชื่อว่าเป็นสอุปาทิเสสนิพพาน คือดับกิเลสแต่ยังมีขันธูปธิ
|
|
39,0029,003,คือมีขันธ์เหลืออยู่
|
|
39,0029,004,<B>สอุปาทิเสสนิพพาน</B> หมายถึงกรดับกิเลสของพระอรหันต์ใน
|
|
39,0029,005,ขณะที่ท่านยังมีชีวิตอยู่
|
|
39,0029,006,๒. <B>อนุปาทิเสสนิพพาน</B> ก็มีนัยอธิบายอยู่ ๒ นัย คือนิพพาน
|
|
39,0029,007,ของพระอรหันต์ผู้ไม่ยินดีในเวทนาทั้งปวง ได้แก่พระอรหันต์ที่เข้าสัญญา
|
|
39,0029,008,เวทยิตนิโรธ คือเข้าสมาบัติที่ดับสัญญา คือความจำ เวทนาคือความเสวย
|
|
39,0029,009,อารมณ์ ได้ชื่อว่าอนุปาทิเสสนิพพาน อีกนัยหนึ่ง อนุปาทิเสสนิพพาน ได้
|
|
39,0029,010,แก่นิพพานของพระอรหันต์ ที่ท่านดับกิเลสคือสังโยชน์ ๑๐ ประการได้
|
|
39,0029,011,อย่างสิ้นเชิง แต่ว่าโดยความหมายทั่ว ๆ ไปแล้ว
|
|
39,0029,012,<B>อนุปาทิเสสนิพพาน</B> เป็นการดับกิเลสทั้งชีวิตของพระอรหันต์
|
|
39,0029,013,องค์นั้น บางครั้งท่านก็เรียกให้แตกต่างกันออกไป ในกรณีของอนุปาทิเสส-
|
|
39,0029,014,นิพพาน ท่านเรียกว่าปรินิพพาน ที่แปลว่าดับรอบ คือดับทั้งกิเลสและดับ
|
|
39,0029,015,ทั้งชีวิต
|
|
39,0029,016,เมื่อกล่าโดยอาการที่เข้าถึงนิพพาน ท่านเรียกชื่อตามการเห็นพระ
|
|
39,0029,017,ไตรลักษณ์ข้อไหนก่อน ก็เรียกชื่ออย่างนั้น แบ่งออกเป็น ๓ คือ
|
|
39,0029,018,๑. ผู้เจริญวิปัสสนาภาวนา จนเห็นอนิจจัง ความไม่เที่ยง อันปราศ
|
|
39,0029,019,จากนิมิตเครื่องหมาย แล้วเพ่งอนิจจังต่อไป จนบรรลุมรรคผล มีนิพพานเป็น
|
|
39,0029,020,อารมณ์ เรียกว่า <B>อนิมิตตนิพพาน</B>
|
|
|