|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
39,0040,001,รูป ๒
|
|
39,0040,002,<B>มหาภูตรูป</B> รูปใหญ่
|
|
39,0040,003,<B>อุปาทายรูป</B> รูปอาศัย
|
|
39,0040,004,คำว่า <B>รูป</B> แปลว่า สิ่งที่เสื่อมสลายไป เพราะเหตุปัจจัย ดังนั้น
|
|
39,0040,005,สิ่งอะไรก็ตามที่บุคคลเห็นด้วยตา ได้ยินด้วยหู สูดดมด้วยจมูก ลิ้มด้วยลิ้น
|
|
39,0040,006,"และถูกต้องด้วยกาย สรุปรวมว่าเป็น "" รูป "" ท่านจำแนกรูปออกเป็นสอง"
|
|
39,0040,007,กลุ่มใหญ่ ๆ คือ
|
|
39,0040,008,<B>๑. มหาภูตรูป</B> รูปใหญ่ ได้แก่ ธาตุทั้ง ๔ ประการ คือ
|
|
39,0040,009,๑. ลักษณะใดเข้มแข็ง ที่ปรากฏอยู่ในกายนี้ เช่น ผม ขน เล็บ
|
|
39,0040,010,ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด
|
|
39,0040,011,ไส้ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่ อาหารเก่า เรียกว่า ปฐวีธาตุ คือ ธาตุดิน
|
|
39,0040,012,๒. ลักษณะใดที่ไหลเอิบอาบไปมาได้ เช่น น้ำลาย น้ำมูก ไขข้อ
|
|
39,0040,013,น้ำเหงือ น้ำตา เปลวมัน ปัสสาวะ เป็นต้น เรียกว่า อาโปธาตุ คือ ธาตุน้ำ
|
|
39,0040,014,๓. ลักษณะใดที่พัดผันไปมาได้ เช่น ลมหายใจ ลมพัดขึ้นเบื้องบน
|
|
39,0040,015,ลมพัดลงเบื้องต่ำ ลมในท้อง ลมในไส้ ลมตามตัว เรียกว่า วาโยธาตุ คือ
|
|
39,0040,016,ธาตุลม
|
|
39,0040,017,๔. ธาตุอันใดทำกายให้อบอุ่น ทำกายให้ทรุดโทรม ทำกายให้กระวน
|
|
39,0040,018,กระวาย เผาอาหารให้ย่อย เรียกว่า เตโชธาตุ คือ ธาตุไฟ รวมธาตุทั้ง
|
|
39,0040,019,๔ ประการเข้าก็จัดเป็นมหาภูตรูป แปลว่า รูปใหญ่
|
|
|