|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
01,0044,001,ภิกษุใหม่ควรตั้งอยู่ในธรรม ๕ อย่างนี้.
|
|
01,0044,002,องฺ. ปฺจก. ๒๒/๑๕๕.
|
|
01,0044,003,องค์แห่งธรรมกถึก คือ นักเทศก์ ๕ อย่าง
|
|
01,0044,004,๑. แสดงธรรมไปโดยลำดับ ไม่ตัดลัดให้ขาดความ.
|
|
01,0044,005,๒. อ้างเหตุผลแนะนำให้ผู้ฟังเข้าใจ.
|
|
01,0044,006,๓. ตั้งจิตเมตตาปรารถนาให้เป็นประโยชน์แก่ผู้ฟัง.
|
|
01,0044,007,๔. ไม่แสดงธรรมเพราะเห็นแก่ลาภ.
|
|
01,0044,008,๕. ไม่แสดงธรรมกระทบตนและผู้อื่น คือว่า ไม่ยกตนเสียดสี
|
|
01,0044,009,ผู้อื่น.
|
|
01,0044,010,ภิกษุผู้เป็นธรรมกถึก พึงตั้งองค์ ๕ อย่างนี้ไว้ในตน.
|
|
01,0044,011,องฺ. ปฺจก. ๒๒/๒๐๖.
|
|
01,0044,012,ธัมมัสสวนานิสงส์ คือ อานิสงส์แห่งการฟังธรรม ๕ อย่าง
|
|
01,0044,013,๑. ผู้ฟังธรรมย่อมได้ฟังสิ่งที่ยังไม่เคยฟัง.
|
|
01,0044,014,๒. สิ่งใดได้เคยฟังแล้ว แต่ไม่เข้าใจชัด ย่อมเข้าใจสิ่งนั้นชัด.
|
|
01,0044,015,๓. บรรเทาความสงสัยเสียได้.
|
|
01,0044,016,๔. ทำความเห็นให้ถูกต้องได้.
|
|
01,0044,017,๕. จิตของผู้ฟังย่อมผ่องใส.
|
|
01,0044,018,องฺ. ปฺจก. ๒๒/๒๗๖.
|
|
|