|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
04,0002,001,ราชคฤห์ ตั้งอยู่ในลุ่มแม่น้ำตโปทา ห่างจากแม่น้ำคงคา ตามอรรถกถา
|
|
04,0002,002,ธรรมบท ๕ โยชน์ มีแม่น้ำมหีไหลผ่านอาณาเขตอังคชนบททางเหนือ
|
|
04,0002,003,เมืองใดเป็นนครหลวง เมืองนั้นย่อมมีชื่อเสียง เพราะเป็นเมืองรุ่งเรือง
|
|
04,0002,004,บริบูรณ์กว่า มีอำนาจบังคับบัญชาเมืองอื่น และเป็นที่มาแห่งคนต่างเมือง
|
|
04,0002,005,"ต่างด้าว, ในปกรณ์จึงกล่าวการเสด็จมคธชนบทว่า เสด็จกรุงราชคฤห์."
|
|
04,0002,006,ต่อกล่าวถึงเรื่องอันเกิดในระหว่างเสด็จเดินทาง จึงออกชื่อมคธชนบท
|
|
04,0002,007,ตามความสนใจ. โดยนัยนี้ จักนับชนบทที่เสด็จพระพุทธดำเนินกำหนด
|
|
04,0002,008,ด้วยเสร็จประทับที่นครหลวงเป็นที่ตั้ง เริ่มแต่มคธชนบทเป็นต้นไป.
|
|
04,0002,009,ประทานอุปสัมปทาแก่พระมหากัสสปะ
|
|
04,0002,010,คราวหนึ่ง พระศาสดาเสด็จจาริกโปรดประชาชนในมคธชนบท
|
|
04,0002,011,ประทับอยู่ที่ใต้ร่มไทร เรียกว่า พหุปุตตกนิโครธ ในระหว่างกรุงราช-
|
|
04,0002,012,คฤห์และเมืองนาลันทาต่อกัน. ในเวลานั้น ปิปผลิมาณพกัสสปโคตร มี
|
|
04,0002,013,ความเบื่อหน่ายในการครองเรือน ละฆราวาสเสียถือเพศเป็นบรรพชิต
|
|
04,0002,014,ออกบวชอุทิศพระอรหันต์ในโลก จาริกมาถึงที่นั้น เห็นพระศาสดาเข้า
|
|
04,0002,015,"มีความเลื่อมใสเข้าไปเฝ้า รับเอาพระองค์เป็นพระศาสดาของตน, ทรง"
|
|
04,0002,016,รับเป็นภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ ด้วยประทานพระโอวาท ๓ ข้อว่า
|
|
04,0002,017,กัสสปะ<SUP>๑</SUP> ท่านพึงศึกษาว่า เราจักเข้าไปตั้งความละอายและความเกรง
|
|
04,0002,018,ไว้ในภิกษุ ทั้งที่เป็นผู้เฒ่า ทั้งที่เป็นผู้ใหม่ ทั้งที่เป็นปานกลาง เป็น
|
|
04,0002,019,"อย่างแรงกล้า ดังนี้ข้อ ๑, เราจะฟังธรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่ง"
|
|
|