|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
09,0002,001,ของธรรมดา ปรารภสภาวธรรมและสามัญญลักษณะ จัดเป็นวิปัสสนา
|
|
09,0002,002,กัมมัฏฐาน. ภาวนา ๒ ก็เรียก.
|
|
09,0002,003,กาม ๒
|
|
09,0002,004,กิเลสกาม กิเลสเป็นเหตุใคร่
|
|
09,0002,005,วัตถุกาม พัสดุอันน่าใคร่.
|
|
09,0002,006,ขุ. มหา. ๒๙/๑.
|
|
09,0002,007,อธิบาย : กิเลสกาม ได้แก่กิเลสให้ใคร่ คือ ราคะ โลภะ
|
|
09,0002,008,อิจฉา คือความอยากได้ อิสสา คือความริษยาหรือความหึง อรติ
|
|
09,0002,009,ความไม่ยินดีด้วย อสันตุฏฐิ ความไม่สันโดษ เป็นอาทิ. วัตถุกาม
|
|
09,0002,010,ได้แก่กามคุณ ๕ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันเป็นที่น่า
|
|
09,0002,011,ปรารถนารักใคร่ชอบใจ.
|
|
09,0002,012,ทิฏฐิ ๒
|
|
09,0002,013,สัสสตทิฏฐิ ความเห็นว่าเที่ยง
|
|
09,0002,014,อุจเฉททิฏฐิ ความเห็นว่าขาดศูนย์.
|
|
09,0002,015,สํ. ขนฺธ. ๑๗/๑๒๐.
|
|
09,0002,016,อธิบาย: ทิฏฐิ แปลว่า ความเห็น ใช้เป็นคำกลางก็มี จะให้
|
|
09,0002,017,"รู้ว่าดีหรือชั่ว เติมคำหมายต่างเข้า เช่น ""สมฺมาทิฏฺิ"" ความเห็น"
|
|
09,0002,018,"ชอบ ""มิจฺฉาทิฏฺิ"" ความเห็นผิด ""ทิฏฺิสมฺปนฺโน"" ถึงพร้อม"
|
|
09,0002,019,"ด้วยทิฏฐิ ""ทิฏฺิวิปนฺโน"" วิบัติด้วยทิฏฐิ. แต่โดยมากใช้หมายความ"
|
|
09,0002,020,ช้างเห็นผิด เช่นทิฏฐิ ๒ นี้. ความเห็นว่าในโลกนี้ไม่มีอะไรศูนย์ แม้
|
|
|