|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
09,0032,001,สมาธิ ๓
|
|
09,0032,002,สุญญตสมาธิ
|
|
09,0032,003,อนิมิตตสมาธิ
|
|
09,0032,004,อัปปณิหิตสมาธิ.
|
|
09,0032,005,องฺ. ติก. ๒๐/๓๘๕.
|
|
09,0032,006,อธิบาย: ศัพท์ว่า วิโมกข์ นั้นแปลว่า พ้น หมายความว่า
|
|
09,0032,007,พ้นจากกิเลส ได้แก่พระอรหัต. พระอรรถกถาจารย์แก้ว่า ชนิดที่
|
|
09,0032,008,ได้ชื่อว่า สุญญตวิโมกข์นั้น เพราะว่างจากราคะ โทสะ โมหะ. ชนิดที่
|
|
09,0032,009,ได้ชื่อว่า อนิมิตตวิโมกข์นั้น เพราะหาราคะ โทสะ โมหะ เป็น
|
|
09,0032,010,นิมิต คือเครื่องหมาย มิได้. ชนิดที่ได้ชื่อว่า อัปปณิหิตวิโมกข์นั้น
|
|
09,0032,011,เพราะหาราคะ โทสะ โมหะ เป็นปณิธิ คือที่ตั้ง มิได้. แก้อย่างนี้
|
|
09,0032,012,ความยังไม่ต่างจากกันออกไป โดยความ ทั้ง ๓ ชนิดนั้นไม่สัมปยุต
|
|
09,0032,013,ด้วยราคะ โทสะ โมหะ จัดว่าเป็นประเภทเดียวกัน. ข้าพเจ้า
|
|
09,0032,014,เข้าในว่าทั้ง ๓ ชนิดนั้น คงมีลักษณะหรืออารมณ์ต่างกัน ไม่เช่นนั้น
|
|
09,0032,015,แยกประเภทไว้ทำอะไร เรียกว่าวิโมกข์เท่านั้นก็พอ. ความเห็นย่อ
|
|
09,0032,016,ของข้าพเจ้าว่า ได้แก่โลกุตตรธรรมสัมปยุตด้วยสมาบัติ มีอารมณ์
|
|
09,0032,017,ชนิดนั้น ส่วนสมาธินั้น ได้แก่ตัวสมาบัติชนิดนั้น. จักออกมติ
|
|
09,0032,018,มากไปก็จักเป็นคาดคะเน ขอยุกติไว้เพียงเท่านี้.<SUP>*</SUP>
|
|
|