|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
13,0009,001,แต่จะหยอดน้ำด่างให้กัดหรือจะผูกไว้ด้วยด้าย [ เพื่อมิให้หดเข้าไป
|
|
13,0009,002,"เสีย ] ได้อยู่, หากหัวนั้นหลุด ก็เป็นอันหลุดด้วยดี ใช้ยารมหรือ"
|
|
13,0009,003,ยาทาแม้สอดชุดอันทายาเหน็บเข้าในทวารหนัก หรือใช้หลอดสอด
|
|
13,0009,004,เข้าไปหยอดน้ำด่างหรือน้ำมันก็ได้ โดยนัยนี้ จะเจาะกล่อนเอาน้ำ
|
|
13,0009,005,ออก จะผ่าเอาเม็ดนิ่วออก เป็นอันห้ามทั้งนั้น. แต่ศัพท์ว่าวัตถิใน
|
|
13,0009,006,ที่อื่น เป็นชื่อแห่งกระเพาะเบา ข้าพเจ้าเข้าใจว่า ห้ามวัตถิกรรมนั้น
|
|
13,0009,007,ได้แก่ห้ามสวนทวารเบา การนี้พวกหมอรู้จักทำกันมาแล้ว ครั้งยัง
|
|
13,0009,008,ไม่มีเครื่องมือที่ดีกว่า ได้ยินว่าเขาใช้ใบไม้อันเป็นหลอดเช่นใบหอม
|
|
13,0009,009,เช่นเดียวกับใช้ลำไม้หรือต้นหญ้าอันเป็นหลอด สวนทางทวารหนัก
|
|
13,0009,010,ครั้งพุทธกาล ความรู้ในการผ่าตัดบาดแผลของแพทย์มีแล้ว แต่คง
|
|
13,0009,011,ยังไม่ชำนาญ ทำในที่สำคัญเช่นนั้น คนเจ็บคงเป็นอันตรายมากกว่า
|
|
13,0009,012,หาย จึงได้ห้ามและปรับอาบัติแรงด้วย. แต่ในบัดนี้ มีแพทย์ผู้
|
|
13,0009,013,ชำนาญในทางนี้มาก ข้อนี้กลับขัดขวางแก่ความรอดจากอันตรายของ
|
|
13,0009,014,คนไข้เสียอีก. เคร่งในที่เช่นนี้ เกินพอดี.
|
|
13,0009,015,ข้อ ๑ เป็นธรรมเนียมของภิกษุ ต้องใช้ไม้ชำระฟัน. ของเดิม
|
|
13,0009,016,ไม่ใช่ไม้สีฟัน เช่นในประเทศของเรา เป็นไม้ชนิดหนึ่ง เนื้อ
|
|
13,0009,017,อ่อนอย่างไม้โสนหรือรากลำภู ฟันกัดแหลก ทำเป็นอันยาวขนาด
|
|
13,0009,018,พลูจีบของเรา ใช้กัดเหมือนกัดพลูนั้นเอง เคี้ยวจนแหลกแล้วคาย
|
|
13,0009,019,อย่างเดียวกับเคี้ยวหมากคายหมาก ไม้ชนิดนั้นเป็นเครื่องชำระฟัน
|
|
13,0009,020,ได้ดี. ในบาลีพรรณนาประโยชน์แห่งการเคี้ยวไม้ชำระฟันว่า ฟันดู
|
|
13,0009,021,ได้ไม่สกปรก ปากไม่เหม็น เส้นประสาทรับรสหมดจดดี เสมหะไม่
|
|
|