|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
13,0044,001,ในฝ่ายสัทธิวิหาริกเหมือนกัน สัทธิวิหาริกหลีกไปเสียเอง สึกเสีย
|
|
13,0044,002,เอง ตายเสียเอง ไปเข้ารีตเดียรถีย์เสียเอง นิสัยก็ระงับเหมือน
|
|
13,0044,003,กัน. ในองค์คือหลีกไปนั้น ถ้าฝ่ายที่หลีกไปกลับมา หรือฝ่ายที่
|
|
13,0044,004,อยู่ตามไปอยู่ในที่แห่งเดียวกัน นิสัยย่อมกลับมีอีก กำหนดความ
|
|
13,0044,005,มีด้วยสัทธิวิหาริกได้ร่วมกับอุปัชฌายะเข้า ที่พระอรรถกถาจารย์
|
|
13,0044,006,แม้ว่า ได้เห็นอุปัชฌายะถนัดจนจำได้ หรือได้ฟังเสียงจำได้ แก้
|
|
13,0044,007,อย่างนี้เผินมาก ควรจะแก้ให้เป็นกิจลักษณะสักหน่อย คำบาลีว่า
|
|
13,0044,008,""" อุปชฺฌาเยน สโมธานคโต "" ที่ข้าพเจ้าแปลว่า ร่วมกับอุปัชฌายะ"
|
|
13,0044,009,เข้านั้น น่าจะหมายความว่า ได้เข้าอยู่ในปกครองของอุปัชฌายะอีก
|
|
13,0044,010,ไม่ควรถือเอาการพบปะตามถนนหนทางชั่วขณะ ที่สุดจนอุปัชฌายะ
|
|
13,0044,011,ไม่เห็น เช่นนี้นิสัยไม่มีได้เลย และเป็นเหตุลำบากอย่างไร ของ
|
|
13,0044,012,ผู้ให้ผู้ถือนิสัย จักกล่าวในวาระแห่งนิสัยอาจารย์. องค์คือสั่ง
|
|
13,0044,013,บังคับนั้น พระอรรถกถาจารย์แก้ว่า ประณามคือไล่เสีย. เมื่อ
|
|
13,0044,014,อุปัชฌายะอดโทษ ยอมรับให้เข้าอยู่ในความปกครองอีก นิสัยย่อม
|
|
13,0044,015,ติดอย่างเดิม. ข้าพเจ้าเห็นว่า น่าจะหมายความถึงว่า อุปัชฌายะ
|
|
13,0044,016,เห็นมีพรรษาพ้น ๕ แล้ว มีความรู้พระธรรมวินัยพอรักษาตัวได้แล้ว
|
|
13,0044,017,ปลดจากนิสัย ให้อยู่เป็นนิสัยมุตตกะ นี้ควรจะนับเข้าในองค์คือ
|
|
13,0044,018,สั่งบังคับได้เหมือนกัน.
|
|
13,0044,019,ประทานอำนาจไว้แก่อุปัชฌายะ เพื่อจะประณามคือไล่สัทธิ-
|
|
13,0044,020,วิหาริกผู้ประพฤติมิชอบ. ในบาลีท่านแสดงองค์เป็นเครื่องกำหนด
|
|
13,0044,021,ไว้ ๕ คือ หาความรักใคร่ในอุปัชฌายะมิได้ ๑ หาความเลื่อมใส
|
|
|