|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
13,0045,001,มิได้ ๑ หาความละอายมิได้ ๑ หาความเคารพมิได้ ๑ หาความ
|
|
13,0045,002,หวังดีต่อมิได้ ๑. พึงรู้อธิบายดังนี้ :-
|
|
13,0045,003,สัทธิวิหาริก ผู้มีใจสนิทสนมในอุปัชฌายะฉันบุตรกับบิดา ชื่อ
|
|
13,0045,004,ว่ามีความรักใคร่ มีใจห่างเหินฉันคนอื่น ชื่อว่าหาความรักมิได้
|
|
13,0045,005,สัทธิวิหาริกผู้นิยมในความประพฤติและคุณธรรมของอุปัชฌายะ ชื่อ
|
|
13,0045,006,ว่ามีความเลื่อมใสในอุปัชฌายะ เห็นเป็นเลวที่ไม่ควรถือเป็นแบบ
|
|
13,0045,007,อย่าง ชื่อว่าหาความเลื่อมในมิได้. สัทธิวิหาริกจะประพฤตินอก
|
|
13,0045,008,ธรรมวินัย กระดากอุปัชฌายะ ชื่อว่ามีความละอายต่ออุปัชฌายะ
|
|
13,0045,009,เป็นผู้หน้าด้าน กล้าทำได้ต่อหน้าอุปัชฌายะ ชื่อว่าหาความละอาย
|
|
13,0045,010,มิได้. สัทธิวิหาริกผู้หนักอยู่ในอุปัชฌายะ เห็นอุปัชฌายะเป็นสำคัญ
|
|
13,0045,011,สั่งให้ทำอะไรก็ต้องทำ ชื่อว่ามีความเคารพ เห็นอุปัชฌายะเป็นผู้ไม่
|
|
13,0045,012,สำคัญ ว่าอะไรก็ไม่เชื่อฟัง ชื่อว่าหาความเคารพมิได้. สัทธิวิหาริก
|
|
13,0045,013,หวังให้อุปัชฌายะเป็นสุข ปราศจากทุกข์ พลอดดีใจเสียใจด้วย
|
|
13,0045,014,"ตามเหตุ ชื่อว่ามีความหวังดีต่ออุปัชฌายะ, เพิกเฉยไม่นำพา เป็น"
|
|
13,0045,015,อย่างไรก็ช่าง ชื่อว่าหาความหวังดีต่อมิได้. สัทธิวิหาริกจอประกอบ
|
|
13,0045,016,"ด้วยองค์อันเป็นคุณ ก็เพราะอุปัชฌายะเป็นเดิม, เพราะเหตุนั้น"
|
|
13,0045,017,อุปัชฌายะควรสงเคราะห์สัทธิวิหาริกด้วยลาภผล ด้วยสอนธรรม
|
|
13,0045,018,ด้วยแสดงเมตตาจิตสนิทสนม สัทธิวิหาริกจะได้รักใคร่ ควรตั้ง
|
|
13,0045,019,ตนให้เป็นหลักในความประพฤติและคุณธรรม สัทธิวิหาริกจะได้
|
|
13,0045,020,เลื่อมใส นิยมในปฏิบัติและจะกระดากไม่กล้าประพฤตินอกทาง ควร
|
|
13,0045,021,จะคารพในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ในอุปัชฌายะอาจารย์
|
|
|