|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
14,0034,001,"ใช้บทอนาสวะกำกับว่า <B>""อนาสวํ เจโตวิมุตฺตึ ปญฺาวิมุตฺตึ""</B> "
|
|
14,0034,002,[ทำให้แจ้ง] ซึ่งเจโตวิมุตติ ซึ่งปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้
|
|
14,0034,003,ดังจะบรรยายว่า วิมุตติอันเป็นสาสวะก็มี และในบาลีธัมมจักกัปป-
|
|
14,0034,004,"วัตตนสูตรว่า <B>""อกุปฺปา เม วิมุตฺติ""</B> วิมุตติของเราไม่กำเริบ"
|
|
14,0034,005,ดังจะบรรยายว่า วิมุตติเป็นกุปปธรรมคือรู้จักกำเริบก็มี ถ้าวิมุตติเป็น
|
|
14,0034,006,โลกิยะไม่มี ใช้บทเหล่านั้นกำกับหาประโยชน์มิได้ โดยนัยนี้กระมัง
|
|
14,0034,007,"อาจารย์ปูนหลังได้แจกวิมุตติเป็น ๕ คือ <B>""ตทงฺควิมุตฺต""</B> ความ"
|
|
14,0034,008,หลุดพ้นด้วยองค์นั้น ๆ ได้แก่การระงับอกุศลเจตสิกได้เป็นคราว ๆ
|
|
14,0034,009,"<B>""วิกฺขมฺภนวิมุตฺติ""</B> ความหลุดพ้นด้วยข่มไว้ ได้แก่การระงับ"
|
|
14,0034,010,"กิเลสกามและอกุศลธรรมด้วยกำลังฌาน, ๒ นี้เป็นโลกิยวิมุตติ <B>""สมุจฺ-"
|
|
14,0034,011,"เฉทวิมุตฺติ""</B> ความหลุดพ้นด้วยตัดขาด ได้แก่ระงับกิเลสด้วย"
|
|
14,0034,012,"อริยมรรค <B>""ปฏิปสฺสทฺธิวิมุตฺติ""</B> ความหลุดพ้นด้วยความสงบราบ"
|
|
14,0034,013,"ได้แก่อริยผล <B>""นิสฺสรณวิมุตฺติ""</B> ความหลุดพ้นด้วยออกไปเสีย ได้แก่"
|
|
14,0034,014,"นิพพาน, ๓ นี้เป็นโลกุดร. การบัญญัติตทังควิมุตติ ดูเหมือน"
|
|
14,0034,015,ถือเอาบรรยายว่า วิมุตติของผู้มิใช่พระเสขะ มิใช่พระอเสขะ คือปุถุชน
|
|
14,0034,016,ก็มีเป็นเกณฑ์ การบัญญัติวิกขัมภนวิมุตติ ดูเหมือนถือเอาบรรยาย
|
|
14,0034,017,ว่า เจโตวิมุตติเป็นสาสวะก็มีเป็นเกณฑ์ การบัญญัติสมุจเฉทวิมุตติ
|
|
14,0034,018,และปฏิปัสสัทธิวิมุตติ คงเป็นตามสันนิษฐานว่า วิมุตติเป็นได้ทั้ง
|
|
14,0034,019,อริยมรรคทั้งอริยผล ดังอธิบายมาแล้ว เกณฑ์บัญญัตินิสสรณวิมุตติ
|
|
14,0034,020,ยังตริไม่เห็นอย่างอื่นจากบทบูรณ์ คือเพิ่มให้เต็มจำนวนแห่งโลกุตตร-
|
|
14,0034,021,ธรรม ๓.
|
|
|