dhamma-scholar-book / 14 /140044.csv
uisp's picture
init upload
c5b6280
Book,Page,LineNumber,Text
14,0044,001,๕. สันติ ความสงบ
14,0044,002,อุทเทส
14,0044,003,<B>๑. สนฺติมคฺคเมว พฺรูหย.</B>
14,0044,004,สูจงพูนทางแห่งความสงบนั้นแล.
14,0044,005,มคฺควคฺค ธมฺมปท.<SUP>๑</SUP>
14,0044,006,<B>๒. นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ.</B>
14,0044,007,สุขอื่นจากความสงบย่อมไม่มี.
14,0044,008,สุขวคฺค ธมฺมปท.<SUP>๒</SUP>
14,0044,009,<B>๓. โลกามิสํ ปชเห สนฺติเปกฺโข.</B>
14,0044,010,ผู้เพ่งความสงบ พึงละอามิสในโลกเสีย.
14,0044,011,สคาถวคฺค สํยุตฺต.<SUP>๓</SUP>
14,0044,012,<B>พรรณนาความ</B>
14,0044,013,พระพุทธภาษิตสอนให้พูนทางแห่งสันตินั้น สันติย่อมเป็นไป
14,0044,014,ในไตรทวาร ได้ในบาลีว่า
14,0044,015,<B>สนฺตํ ตสฺส มนํ โหติ สนฺตา วาจา จ กมฺม จ.</B><SUP>๔</SUP>
14,0044,016,ใจของผู้นั้น ย่อมเป็นทวารสงบแล้ว วาจารแล้วการ [กาย]
14,0044,017,ก็ย่อมเป็นทวารสงบแล้ว.
14,0044,018,สงบกาย สงบวาจา จัดเป็นสันติภายนอก สงบใจจัดเป็น
14,0044,019,สันติภายใน การทำ การพูด การคิดอย่างใด ย่อมเป็นไปเพื่อสันติ
14,0044,020,เช่นเว้นจากเบียดเบียนกัน ชักนำเพื่อกายสามัคคี เว้นจากวิวาทและ