|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
16,0009,001,พยัญชนะออกเสียงเพลา เรียกว่า สิถิล ได้แก่พยัญชนะที่ ๑
|
|
16,0009,002,"ที่ ๓ ในวรรคทั้ง ๕ คือ ก ค, จ ช, ฏ ฑ, ต ท, ป พ. พยัญชนะ "
|
|
16,0009,003,ออกเสียงแข็ง เรียกว่าธนิต ได้แก่พยัญชนะที่ ๒ ที่ ๔ ในวรรคทั้ง ๕
|
|
16,0009,004,"นั้น คือ ข ฆ, ฉ ฌ, ฒ, ถ ธ, ผ ภ. สระอันจะพึงว่าโดยระยะ"
|
|
16,0009,005,ยาว เรียกทีฆะ ได้แก่ อา อี อู เอ โอ. สระอันจะพึงว่าโดยระยะ
|
|
16,0009,006,สั้นกึ่งหนึ่งแห่งระยะยาว เรียกรัสสะ ได้แก่ อ อิ อุ. ทีฆะ ได้ชื่อว่า
|
|
16,0009,007,"ครุ เสียงหนัก, รัสสะ ได้ชื่อว่าลหุ เสียงเบา, แต่ในที่นี้หมายเอาสระ"
|
|
16,0009,008,มีพยัญชนะสะกดซึ่งเรียกว่าสังโยค เป็นครุ เช่น พุทฺธรกฺขิตตฺเถรสฺส
|
|
16,0009,009,นกฺขมติ. หมายเอาสระสั้นไม่มีพยัญชนะสะกด เป็นลหุ เช่น พุทฺธ-
|
|
16,0009,010,รกฺขิตเถรสฺส น ขมติ. อักขระที่ว่ากดเสียง เรียกนิคคหิต เช่น สงฺฆํ
|
|
16,0009,011,อุปสมฺปทํ. ในอรรถกถาบริวาร อธิบายว่า อักขระที่ว่าหุบปากกด
|
|
16,0009,012,กรณ์ไว้ไม่ปล่อย ทำให้เสียงขึ้นจมูก ชื่อว่านิคคหิต นัยนี้ดูเหมือน
|
|
16,0009,013,เพ่งเสียงนิคคหิ เป็น มฺ สะกด. อักขระที่ว่าปล่อยเสียง เรียก
|
|
16,0009,014,วิมุต เช่น สุณาตุ เอสา ตฺติ. บทเข้าสนธิเชื่อมกับบทอื่น เรียก
|
|
16,0009,015,สัมพันธ์ เช่น ตุณฺห' สฺส หรือ ตุณฺหิ' สฺส บทแยกเรียก ววัตถิตะ
|
|
16,0009,016,เช่น ตุณฺหี อสฺส.
|
|
16,0009,017,ท่านแสดงตัวอย่างแห่งการว่าผิดว่าพลาดไว้ ดังต่อไปนี้ : บท
|
|
16,0009,018,"อันจะพึงว่า "" สุณาตุ เม "" ว่า ต เป็น ถ ว่า "" สุณาถุ เม "" ก็ดี"
|
|
16,0009,019,"บทอันจะพึงว่า "" ปตฺตกลฺลํ เอสา ตฺติ "" ว่าเป็น "" ปตฺถกลฺลํ เอสา"
|
|
16,0009,020,"ตฺถิ "" ก็ดี ชื่อว่า ว่า สิถิลเป็นธนิต. บทอันจะพึงว่า "" ภนฺเต สงฺโฆ """
|
|
16,0009,021,"ว่า ภ เป็น พ, ว่า ฆ เป็น ค, ว่า "" พนฺเต สงฺโค "" ชื่อว่า ว่า ธนิต"
|
|
|