|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
16,0034,001,ทุติยกรรมวาจา ตามแบบในอุโบสถขันธ์ในคัมภีร์มหาวรรค อันจะจัด
|
|
16,0034,002,"ไว้แผนกหนึ่ง ในภาคกรรมวาจา. จบอนุสาวนา คือลง "" โส ภาเสยฺย """
|
|
16,0034,003,แล้ว พื้นที่ภายในนิมิตนั้น ท่านว่าลึกตลอดน้ำรองแผ่นดินเป็นสมาน-
|
|
16,0034,004,สังวาสสีมา แดนมีสังวาสเสมอกัน มีอุโบสถเดียวกัน ที่ตั้งแห่งนิมิต
|
|
16,0034,005,เป็นภายนอกแห่งสีมา. ข้อที่ท่านกำหนดส่วนลึกของสีมานั้น พึงเห็น
|
|
16,0034,006,เช่นขุดสระลงในสีมานั้น ภิกษุอยู่ในสระก็มีสังวาสเสมอกัน เป็นผู้ควร
|
|
16,0034,007,เข้าประชุมหรือให้ฉันทะ. เป็นธรรมเนียมที่สวดสมมติสมานสังวาสสีมา
|
|
16,0034,008,นั้น เป็นติจีวราวิปปวาสด้วย คงไม่มีผลตามความมุ่งหมายเดิม แต่จะ
|
|
16,0034,009,เป็นอะไรไป ท่านไม่สมมติก็มี.
|
|
16,0034,010,กรรมทั้งปวง คือ ถอน ทักนิมิต สวดสมมติ จำต้องทำ
|
|
16,0034,011,ในภายในสีมา ทำนอกสีมา เป็นกรรมวิบัติ สีมานั้นพลอยเป็นสีมา
|
|
16,0034,012,วิบัติไปตามกัน เพราะเหตุนี้กระมัง ธรรมเนียมเก่าจึงมีฝั่งนิมิตศิลา
|
|
16,0034,013,ไว้ในท่ามกลางโรงอุโบสถ เป็นเครื่องหมายว่าสงฆ์ได้สวดสมมติตรง
|
|
16,0034,014,นั้น ในบาลีอรรถกถาฎีกาไม่กล่าวถึงเลย นอกจากนี้ยังไม่แลเห็นว่า
|
|
16,0034,015,ฝั่งไว้เพื่อประโยชน์อะไร. ธรรมเนียมยืนสมมติสีมา คงเนื่องมาจาก
|
|
16,0034,016,"ศัพท์ว่า "" ิโต "" ซึ่งแปลว่ายืนก็มี แปลว่าตั้งอยู่ คืออยู่ในนั้นก็มี"
|
|
16,0034,017,ข้าพเจ้าเห็นว่า ศัพท์นั้นในบาลีบริวารอันแสดงลักษณะสีมาวิบัติว่า
|
|
16,0034,018,""" พหิสีเม ิโต สีมํ สมฺมนฺนติ<SUP>๑</SUP> "" หมายความว่าตั้งอยู่ แปลตามนี้ว่า"
|
|
16,0034,019,""" ตั้งอยู่ในภายนอก สมมติสีมา. """
|
|
16,0034,020,ในอรรถกถาท่านแนะให้สมมติสีมา ๒ ชั้นไว้ แสดงโดยใจความ
|
|
|