|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
19,0004,001,ธาตุกัมมัฏฐานหรือวิปัสสนากัมมัฏฐาน เพื่อกำหนดรู้สภาวธรรมที่เป็น
|
|
19,0004,002,อยู่อย่างไร.
|
|
19,0004,003,ในบุคคลผู้เดียว นีวรณ์เหล่านี้ อาจเข้าครอบงำในต่างขณะ. ใน
|
|
19,0004,004,สมัยใด นีวรณ์ชนิดใดครอบงำ ในสมัยนั้น ควรเจริญกัมมัฏฐาน
|
|
19,0004,005,อันเป็นเครื่องแก้นีวรณ์ชนิดนั้น พึงข่มจิตลงในสมัยที่เป็นไปพล่าน
|
|
19,0004,006,พึ่งยกจิตขึ้นในสมัยที่หดหู่ พึงประคองจิตไว้ในสมัยที่เป็นไปสม่ำเสมอ
|
|
19,0004,007,พึงทำจิตให้อาจให้ควรแก่การงาน.
|
|
19,0004,008,อาการที่รู้จักทำจิตให้ปลอดจากนีวรณ์เป็นจิตอาจ เป็นจิตควร
|
|
19,0004,009,แก่การงานในคราวต้องการ ดังนี้ ชื่อว่าสมาธิ แปลตามศัพท์ว่า
|
|
19,0004,010,ตั้งจิตไว้มั่น.
|
|
19,0004,011,สมาธินี้ เป็นกำลังสำคัญในอันจะให้คิดเห็นอรรถธรรมและเหตุ
|
|
19,0004,012,"ผลอันสุขุมลึกลับ พระศาสดาจึงตรัสไว้ในพระบาลีว่า <B>""สมาหิโต"
|
|
19,0004,013,"ยถาภูตํ ปชานาติ""</B> ผู้มีใจตั้งมั่นแล้ว ย่อมรู้ตามเป็นจริง ใจดวงเดียว"
|
|
19,0004,014,นึกพล่านไปในอารมณ์ต่าง ๆ ย่อมคิดติดแลไม่เห็นทาง ต่อนึกดิ่งลงไป
|
|
19,0004,015,ในอารมณ์เดียวเป็นสมาธิ จึงจะคิดเห็นปรุโปร่ง ดุจดังน้ำบ่าไป
|
|
19,0004,016,หลายทาง จะให้กำลังพัดเครื่องจักรไม่ได้แรงเหมือนทำให้บ่าลงทาง
|
|
19,0004,017,เดียวฉะนั้น. สมาธิก็คือรวมความคิดของใจให้ดิ่งลงไปในทางเดียว
|
|
19,0004,018,จึงเป็นกำลังอันใหญ่ให้แทงตลอดอรรถธรรม และเหตุผลอันสุขุม.
|
|
19,0004,019,สมาธินั้น ที่เป็นอย่างต่ำ ไม่แน่แน่วจริง ๆ ทำได้เป็นอย่างดี
|
|
19,0004,020,ก็เป็นแต่เฉียด ใกล้ ๆ เรียก อุปจารสมาธิ ที่เป็นอย่างสูง เป็นสมาธิ
|
|
19,0004,021,อย่างแน่นแฟ้น แน่แน่วลงไปจริง ๆ เรียก อัปปนาสมาธิ สมาธิ
|
|
|