|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
19,0008,001,๓. <B>นขา</B> ได้แก่สิ่งที่เป็นเกล็ด งอกอยู่ตามปลายมือปลายเท้า
|
|
19,0008,002,ทุก ๆ แห่ง.
|
|
19,0008,003,๔. <B>ทนฺตา</B> สิ่งที่เป็นซีก ๆ งอกอยู่ในเหงือกเบื้องล่างเบื้องบน
|
|
19,0008,004,สำหรับบดเคี้ยวอาหาร.
|
|
19,0008,005,๕. <B>ตโจ</B> ได้แก่สิ่งที่หุ้มอยู่ทั่วสรรพางค์กาย.
|
|
19,0008,006,พึงกำหนดรู้ง่าย ๆ ดังนี้ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง.
|
|
19,0008,007,ครั้นรู้จักสิ่งทั้ง ๕ อย่างนี้แล้ว พึงพิจารณาน้อมใจให้เห็นเป็น
|
|
19,0008,008,ของน่าเกลียดโสโครก โดยปกติของมันทั้งในกายตน ทั้งในกาย
|
|
19,0008,009,ผู้อื่น. ถ้ายังไม่เห็นโดยทันที พึงพิจารณาขยายออกไปโดยสี โดย
|
|
19,0008,010,สัณฐาน คือรูปร่าง โดยกลิ่น โดยที่เกิด โดยที่อยู่. อันผม ขน เล็บ
|
|
19,0008,011,ฟัง หนัง นั้น มีสีก็ไม่งาม มีสัณฐานก็ไม่น่ารัก มีกลิ่นก็เหม็น มี
|
|
19,0008,012,ที่เกิดที่อยู่ล้วนแต่เป็นที่โสโครก เพราะเป็นของปฏิกูล เขาจึงต้อง
|
|
19,0008,013,ตกแต่งทำนุบำรุง ไม่เช่นนั้น ก็จะปรากฏเป็นของปฏิกูลยิ่งนัก เป็น
|
|
19,0008,014,ของน่าสะอิดสะเอียน. ความเห็นน่าเกลียดนั้น มิใช่ไม่ปรากฏแก่สามัญ
|
|
19,0008,015,ชนเมื่อไร เป็นแต่เมื่อปรากฏแล้ว เขาน้อมใจนึกไปเสียโดยทางอื่น
|
|
19,0008,016,ปรารภแต่ของที่เขาตกแต่งไว้แล้ว นึกเห็นเป็นงาม. ความนึกเห็น
|
|
19,0008,017,เช่นนั้น เป็นเหตุชักนำการฉันท์ที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น ยั่วยวนกามฉันท์
|
|
19,0008,018,ที่เกิดขึ้นแล้วให้แก่กล้า ไม่ใช่อารมณ์ของกัมมัฏฐานนี้. ความน้อมใจ
|
|
19,0008,019,แส่เห็นเป็นข้างไม่งาม เป็นของสกปรก สุดแต่จะปรากฏได้อย่างไร นี้
|
|
19,0008,020,เป็นอารมณ์ของกัมมัฏฐานนี้. ผู้เจริญกัมมัฏฐานนี้ พึงนึกถึงอาการ
|
|
19,0008,021,อันหนึ่งขึ้นก่อนโดยปกติของมัน หรือโดยสีสันฐาน กลิ่น ที่เกิด ที่อยู่
|
|
|