dhamma-scholar-book / 27 /270015.csv
uisp's picture
init upload
c5b6280
Book,Page,LineNumber,Text
27,0015,001,กัณฑ์ที่ ๔
27,0015,002,ปาราชิก
27,0015,003,ศัพท์นี้ แปลไว้ ๓ นัย คือ :-
27,0015,004,๑. เป็นคุณบทของอาบัติ แปลว่า ยังผู้ต้องให้พ่าย.
27,0015,005,"๒. "" "" บุคคล "" ผู้พ่าย"
27,0015,006,"๓. "" "" สิกขาบท "" ปรับอาบัติปาราชิก."
27,0015,007,มี ๔ สิกขาบท :-
27,0015,008,สิกขาบทที่ ๑
27,0015,009,ภิกษุเสพเมถุนต้องปาราชิก
27,0015,010,ข้อความที่ควรกำหนด ดังนี้ :-
27,0015,011,ข้อความที่ควรกำหนด ดังนี้ :-
27,0015,012,๑. เมถุนธรรมนั้น น่าจะเข้าใจว่า หมายถึงเมถุนธรรมสามัญ
27,0015,013,ที่เป็นอาการของชายหญิง แต่ในคัมภีร์วิภังค์แสดงว่า กิริยาที่เสพ
27,0015,014,ในทวารเบาทวารหนัก หรือในปากของมนุษย์ชายหญิงก็ตาม เป็น
27,0015,015,พันทางก็ตาม ของสัตว์ดิรัจฉานตัวผู้ตัวเมีย หรือเป็นพันทาง ชื่อว่า
27,0015,016,เสพเมถุน. ภิกษุเสพในทวารเหล่านี้ แม้ไม่สำเร็จกิจ แต่องคชาต
27,0015,017,ได้เข้าไปเพียงเล็กน้อยเท่าเมล็ดงา จะมีอะไรสวมใส่ก็ตาม มนุษย์
27,0015,018,อมนุษย์และดิรัจฉานนั้นยังเป็นอยู่ก็ตาม ตายแล้วก็ตาม แต่ซาก
27,0015,019,ยังบริบูรณ์หรือแหว่งวิ่นไปบ้าง ยังเป็นวัตถุจะให้สำเร็จกิจในทางนี้
27,0015,020,ต้องอาบัติปาราชิก.
27,0015,021,๒. ถ้าภิกษุถูกข่มขืนแต่ยินดี แม้ขณะใดขณะหนึ่ง ต้องอาบัติ
27,0015,022,ปาราชิกเหมือนกัน.