dhamma-scholar-book / 27 /270032.csv
uisp's picture
init upload
c5b6280
Book,Page,LineNumber,Text
27,0032,001,ลักษณะการโจท ๔
27,0032,002,๑. เล่าถึงเรื่องที่ทำ.
27,0032,003,๒. ระบุอาบัติ.
27,0032,004,๓. ด้วยการห้ามสังวาส.
27,0032,005,๔. ด้วยห้ามสามีจิกรรม.
27,0032,006,<B>หมายเหตุ</B> แต่ข้อเหล่านี้ชัดพอจะเข้าใจว่าต้องอาบัติปาราชิก.
27,0032,007,อาการต้องอาบัติ
27,0032,008,๑. อธิกรณ์ไม่มีมูล ภิกษุโจทเองก็ดี สั่งให้โจทก็ดี ด้วย
27,0032,009,อาบัติปาราชิก ต้องสังฆาทิเสส.
27,0032,010,๒. ภิกษุผู้ว่าต่างโจทก์ตามประสงค์ของผู้สั่ง ก็ต้องสังฆาทิเสส
27,0032,011,เหมือนกัน.
27,0032,012,๓. อธิกรณ์มีมูลอันเพลา โจททำให้มั่นเข้า เป็นสังฆาทิเสส.
27,0032,013,๔. อธิกรณ์มีมูล เช่นได้เห็นจริง แต่คลับคล้ายคลับคลาสันนิษ-
27,0032,014,ฐานลงไม่ถนัด โจททำให้มั่นเข้าว่าได้เห็นโดยถนัด เป็นสังฆาทิเสส.
27,0032,015,๕. จำเลยเป็นผู้ไม่บริสุทธิ์ คือต้องปาราชิกแล้ว แต่โจทก์
27,0032,016,สำคัญว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ และโจทด้วยอธิกรณ์ไม่มีมูล ต้องสังฆาทิเสส
27,0032,017,เหมือนกัน.
27,0032,018,อาการที่ไม่เป็นอาบัติ
27,0032,019,จำเลยเป็นผู้บริสุทธิ์หรือไม่บริสุทธิ์ แต่เขาใจว่า เป็นผู้ไม่
27,0032,020,บริสุทธิ์ โจทตรงตามอาการที่ได้เห็น ได้ฟังหรือรังเกียจ แม้อธิกรณ์
27,0032,021,นั้นไม่เป็นจริง เช่นโจทตามที่ได้รับแจ้งความเท็จ ไม่ต้องอาบัติ.