|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
29,0047,001,๔. สัทธาจริต เป็นคนหูเบาเชื่อง่าย
|
|
29,0047,002,๕. พุทธจริต เป็นคนรู้มาก
|
|
29,0047,003,๖. วิตักกจริต เป็นคนกังวลคิดหน้าคิดหลังพะว้าพะวัง
|
|
29,0047,004,<B>ผู้ทำกัมมัฏฐานต้องคัดเลือกหาธรรมะที่เป็นสัปปายะ</B>
|
|
29,0047,005,๑. อาวาสสัปปายะ ที่อยู่สบาย
|
|
29,0047,006,๒. โคจรสัปปายะ ที่แสวงหาเลี้ยงชีพอย่างสบาย
|
|
29,0047,007,๓. กถาสัปปายะ พูดแต่เรื่องสบาย
|
|
29,0047,008,๔. ปุคคลสัปปายะ มีบุคคลสบาย
|
|
29,0047,009,๕. อาหารสัปปายะ อาหารที่ถูกต้องตามความต้องการของ
|
|
29,0047,010,ร่างกาย
|
|
29,0047,011,๖. อุตุสัปปายะ ฤดูที่สบาย
|
|
29,0047,012,<B>อุปการธรรมที่ขาดไม่ได้</B>
|
|
29,0047,013,๑. อาตาปี ความเพียร
|
|
29,0047,014,๒. สัมปชาโน ความรู้ตัว
|
|
29,0047,015,๓. สติมา มีสติ
|
|
29,0047,016,ครั้นพร้อมดังนี้แล้ว ผู้ทำกัมมัฏฐานนั่งคู้บัลลังก์ หดเท้าซ้ายเข้า
|
|
29,0047,017,เอาเท้าขวาเข้า นั่งขัดสมาธิ เริ่มระดมความสังเกต มีสติไปยังลมหายใจ
|
|
29,0047,018,ใช้สติกำหนดลมหายใจ ให้รู้ว่าหายใจออกสั้นหรือยาว ให้รู้ว่าหายใจ
|
|
29,0047,019,เข้าสั้นหรือยาว ใช้สติกำหนดลมหายใจอยู่อย่างนี้
|
|
29,0047,020,๑. เมื่อกำหนดดูลมหายใจนาน ๆ ก็เกิดฉันทะ ความพอใจ
|
|
29,0047,021,๒. เมื่อมีฉันทะ ความพอใจในการกำหนดลมหายใจอยู่อย่าง
|
|
29,0047,022,นั้น หายใจเข้าหายใจออกก็ละเอียดขึ้น
|
|
|