|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
31,0007,001,ทั้งหมด เพียงแต่ข้อสำคัญก็พอแล้ว เพราะจะยกขึ้นกล่าวมาก ก็จะ
|
|
31,0007,002,ทำให้อุปัชฌาย์ต้องเสียเวลาบอกมากไป เวลาก็จะไม่พอ เป็นหน้าที่
|
|
31,0007,003,ของศิษย์ควรจะศึกษาภายหลัง จึงยกขึ้นกล่าวในอนุศาสน์แต่เพียง ๔
|
|
31,0007,004,อย่างเท่านั้น พระองค์ทรงเห็นว่ากิจไม่ควรทำ ๔ อย่างนี้ กินความ
|
|
31,0007,005,กว้างตลอดถึงข้อห้ามของพระองค์ทุก ๆ สิกขาบท พอแก่ความจำเป็น
|
|
31,0007,006,แล้ว.<sup>๑</sup>
|
|
31,0007,007,๒๔๕๗
|
|
31,0007,008,ถ. อกรณียกิจ ๔ กับปาราชิก ๔ มีข้อความที่จะพึงเข้าใจต่าง
|
|
31,0007,009,กันหรือเหมือนกันอย่างไร ?
|
|
31,0007,010,ต. ต่างกันอย่างนี้ คือ โดยที่หมายความกว้างและแคบต่างกัน
|
|
31,0007,011,ในบางข้อ เช่นในข้อลักทรัพย์ ซึ่งในอกรณียกิจไม่พูดว่าลักมีกำหนด
|
|
31,0007,012,เท่าไร ส่วนในปาราชิก ๔ มีกำหนดกะจำนวนราคาของที่ลักไปไว้แน่
|
|
31,0007,013,นอนว่าต้องได้ราคา ๕ มาสกขึ้นไป. ข้อว่าฆ่าสัตว์ ในอกรณียกิจไม่นิยม
|
|
31,0007,014,จำกัดว่าสัตว์จำพวกไหน หนักเบาอย่างไร ในปาราชิก ๔ นิยมจำกัด
|
|
31,0007,015,บ่งไว้แน่นอนว่าต้องฆ่ามนุษย์ จึงเป็นปาราชิก. อีก ๒ ข้อก็นัยเดียวกัน.
|
|
31,0007,016,๒๔๕๗
|
|
31,0007,017,ถ. ฆ่าสัตว์เป็นอาบัติอะไรบ้าง ท่านจึงกล่าวไว้ในอกรณียกิจว่า
|
|
31,0007,018,บรรพชิตไม่ควรทำ ? จงอธิบาย.
|
|
31,0007,019,"ต. เป็นอาบัติปาราชิกเพราะฆ่าสัตว์มนุษย์, เป็นอาบัติถุลลัจจัย"
|
|
|