dhamma-scholar-book / 31 /310030.csv
uisp's picture
init upload
c5b6280
Book,Page,LineNumber,Text
31,0030,001,ต. มีชื่อเดียว. คือทุกกฏ.
31,0030,002,๒๔๕๗
31,0030,003,ถ. ล่วงด้วยไม่ละอายปรับโทษชอบแล้ว ล่วงด้วยลืมสติปรับ
31,0030,004,โทษไม่เป็นการเกินไปหรือ ? จงอธิบาย.
31,0030,005,ต. ไม่เป็นการเกินไป เพราะถ้าจะไม่ปรับโทษแก่ภิกษุผู้ล่วง
31,0030,006,อาบัติด้วยความพลั้งเผลอแล้ว เป็นเหตุให้เธอมีความประมาท ไม่
31,0030,007,มีสติ ไม่มีสังวร เสียมรรยาทผู้ดี ไม่เป็นที่เลื่อมใส ทั้งเป็นเหตุให้
31,0030,008,อลัชชีภิกษุแก้ตัวได้ ไม่นำพาในพระวินัย ไม่เป็นความงาม ไม่เป็น
31,0030,009,ความดีเลย มีแต่ทางเสียโดยส่วนเดียว เพราะฉะนั้น จึงไม่ควรยก
31,0030,010,เว้นแก่ภิกษุผู้ล่วงด้วยลืมสติ.
31,0030,011,๒๔๕๖
31,0030,012,ถ. ต้องด้วยลืมสตินั้นอย่างไร ?
31,0030,013,ต. เป็นต้นว่า ภิกษุรับประเคนเภสัช ๕ ไว้แล้ว ไม่ทำวินัยกรรม
31,0030,014,ปล่อยให้ล่วง ๗ วันไปก็ดี หรือได้อติเรกจีวรใหม่มาไม่วิกัปหรือ
31,0030,015,อธิษฐานเสีย ปล่อยให้ล่วงกำหนด ๑๐ วันไปก็ดี หรือจะนุ่งจะห่มซึ่ง
31,0030,016,ผ้าใหม่ไม่ทันได้ทำพินทุเสียก่อนก็ดี เหล่านี้ชื่อว่าต้องด้วยลืมสติทั้งนั้น.
31,0030,017,๒๔๕๕-๒๔๕๖
31,0030,018,ถ. ผู้ที่ลืมสติควรได้รับความยกเว้นไม่ใช่หรือ เหตุใดจึงปรับ
31,0030,019,ให้เป็นอาบัติเล่า ?
31,0030,020,ต. การที่พระพุทธเจ้าไม่ทรงยกเว้นโทษแก่ภิกษุผู้ลืมสตินั้น ก็