dhamma-scholar-book / 33 /330032.csv
uisp's picture
init upload
c5b6280
Book,Page,LineNumber,Text
33,0032,001,ทวงคืนมา แล้วถวายเอง ภิกษุรับได้ ไม่ต้องอาบัติ.
33,0032,002,โกสิยวรรคที่ ๒
33,0032,003,<B>สิกขาบทที่ ๑ หล่อสันถัตด้วยขนเจียมเจือด้วยไหม.</B>
33,0032,004,<B>สันถัต</B> คือ ผ้ารองนั่งของพระ (ไม่ได้ทอ ใช้หล่อ)
33,0032,005,เป็นของหล่อด้วยขนเจียม คือ ขนแกะ หรือขนสัตว์ชนิดหนึ่ง
33,0032,006,ในจำพวกกวาง
33,0032,007,-สิกขาบทนี้ เป็นอาบัติโดยอาการ ๔ คือ :-
33,0032,008,๑. ภิกษุทำเองตั้งแต่ต้นจนสำเร็จ.
33,0032,009,๒. ใช้ผู้อื่นทำตั้งแต่ต้นจนสำเร็จ.
33,0032,010,๓. ตนทำค้าง ใช้ผู้อื่นทำต่อจนสำเร็จ.
33,0032,011,๔. ใช้ผู้อื่นทำค้างไว้ ตนทำต่อจนสำเร็จ.
33,0032,012,เป็นนิสสัคคิยะทั้งนั้น เรียก <B>จตุกกนิสสัคคิยปาจิตตีย์.</B>
33,0032,013,-ได้ของที่คนอื่นทำไว้แล้ว ใช้สอย ต้องทุกกฏ.
33,0032,014,-ใช้เป็นของอื่น ไม่รองนั่ง ไม่เป็นอาบัติ.
33,0032,015,<B>สิกขาบทที่ ๘ รับ ให้รับ ยินดี ซึ่งทองและเงิน.</B>
33,0032,016,เงินทองแท้ และของใช้แทนเงินทอง สำหรับจ่ายซื้อของได้
33,0032,017,เรียก <B>รูปิยะ</B> ภิกษุ<B>รับเอง</B>ก็ดี <B>ใช้ผู้อื่นรับ</B>ก็ดี <B>ยินดีเงินทองที่เขา
33,0032,018,เก็บไว้เพื่อตน</B>ก็ดี ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย์ ต้องสละแก่สงฆ์. เพราะมีข้อ
33,0032,019,ห้ามไว้ว่ายินดีก็ไม่ได้ ฉะนั้น อย่าถือกรรมสิทธิ์ในเงินทองนั้น แต่ถือเอา
33,0032,020,กรรมสิทธิ์ในอันจะได้ของเป็น <B>กัปปิยะ</B> จากเงินทองนั้นได้อยู่.