|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
34,0002,001,เรื่องกายเวทนาจิตและธรรม ตามแนวสติปัฏฐาน นี้เรียกว่าระลึกปัจจุบัน-
|
|
34,0002,002,กาลได้ ๑ ระลึกถึงเรื่องอันจะพึงเกิดมีในกาลข้างหน้า เช่นความตายอัน
|
|
34,0002,003,จะมีแก่ตนและบุคคลอื่น นี้เรียกว่าระลึกเรื่องอนาคตกาลได้ ๑. กิจหรือ
|
|
34,0002,004,"หน้าที่ของสตินั้น ก็คือการไม่ลืมเรื่องอดีต ระลึกได้ทุกครั้งที่ต้องการ,"
|
|
34,0002,005,"ไม่เลื่อนลอยเผลอตัวในเรื่องปัจจุบัน, ไม่หวาดหวั่นฟุ้งเฟ้อในเรื่องอนาคต."
|
|
34,0002,006,เครื่องปรากฏของสตินั้น ก็คือมีการป้องกันรักษาซึ่งการทำ การพูด
|
|
34,0002,007,การคิด ทั้ง ๓ กาลไว้มิให้หันเหไปในทางผิดตามกิเลส ระวังให้ตั้งอยู่
|
|
34,0002,008,เฉพาะในทางถูกเท่านั้น ประดุจนายสารถีผู้ไม่ประมาทคอยบังคับรถเรือ
|
|
34,0002,009,ให้แล่นไปโดยปลอดภัยฉะนั้น.
|
|
34,0002,010,๒. <B>สัมปชัญญะ</B> แปลว่า<B>ความรู้ตัว</B> สัมปชัญญะมีความไม่ฟั่นเฟือน
|
|
34,0002,011,เป็นลักษณะ มีความไตร่ตรองเป็นกิจ มีความเลือกเฟ้นเป็นเครื่องปรากฏ<SUP>๑</SUP>.
|
|
34,0002,012,หมายความว่า ลักษณะของสัมปชัญญะนี้ ได้แก่ความรู้ทั่ว รู้ชัดโดยถูก
|
|
34,0002,013,ต้อง ไม่ใช่หลง ๆ ลืม ๆ หลับ ๆ ตื่น ๆ ฟั่นเฟือนในขณะยืน เดิน นั่ง
|
|
34,0002,014,นอน กิน ดื่ม ทำ พูด คิด เป็นต้น รู้สึกตัวดีอยู่ ตื่นตัวดีอยู่ว่ากำลัง
|
|
34,0002,015,ยืน เดินเป็นต้น. กิจหรือหน้าที่ของสัมปชัญญะนั้น ได้แก่การพิจารณา
|
|
34,0002,016,ถึงคุณโทษเป็นต้น ชิงขึ้นหน้าคอยกุมแจอยู่ทุกอิริยาบถ. เครื่องปรากฏ
|
|
34,0002,017,ของสัมปชัญญะนี้ ได้แก่การเลือกเฟ้นไตร่ตรองประจำอยู่ทุกอิริยาบถใน
|
|
34,0002,018,ปัจจุบัน ไม่ส่งใจไปอื่น.
|
|
34,0002,019,<B>อธิบายชื่อหมวดธรรม</B>
|
|
34,0002,020,<B>สติ/B> และ <B>สัมปชัญญะ</B> ทั้งสองนี้ ชื่อว่า มีอุปการะมาก เพราะ
|
|
|