|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
38,0020,001,๓. ตายเสีย.
|
|
38,0020,002,๔. ไปเข้ารีดเดียรถีย์เสีย.
|
|
38,0020,003,๕. สั่งบังคับ.
|
|
38,0020,004,องค์เหล่านี้ ยกสั่งบังคับเสีย ได้ในฝ่ายสัทธิวิหาริเหมือนกัน
|
|
38,0020,005,สัทธิวิหาริกหลีกไปเสียเอง สึกเสียเอง ตายเสียเอง ไปเข้ารีตเดียรถีย์
|
|
38,0020,006,เสียเอง นิสัยก็ระงับเหมือนกัน.
|
|
38,0020,007,<B>องค์คือสั่งบังคับนั้นมีมติเป็น ๒ คือ</B>
|
|
38,0020,008,๑. ประณามคือไล่เสีย [มติของอรรถกถาจารย์].
|
|
38,0020,009,๒. อุปัชฌายะเป็นมีพรรษาพ้น ๕ แล้ว มีความรู้พระธรรมวินัยพอ
|
|
38,0020,010,รักษาตัวได้แล้ว ปลดเสียจากนิสัย ให้อยู่เป็นนิสัยมุตกะ [พระ
|
|
38,0020,011,มติของสมเด็จ ฯ].
|
|
38,0020,012,<B>องค์เป็นเหตุที่จะให้สัทธิวิหาริกถูกประฌาม ท่านกำหนด
|
|
38,0020,013,ไว้ ๕ คือ</B>
|
|
38,0020,014,๑. หาความรักใคร่ในอุปัชฌายะมิได้.
|
|
38,0020,015,๒. หาความเลื่อมใสมิได้
|
|
38,0020,016,๓. หาความละอายมิได้.
|
|
38,0020,017,๔. หาความเคารพมิได้.
|
|
38,0020,018,๕. หาความหวังดีต่อมิได้.
|
|
38,0020,019,<B>วิธีประฌาม</B>
|
|
38,0020,020,ประณามนั้นพึงทำอย่างนี้ : พึงพูดให้รู้ว่าตนไล่เธอเสีย ท่าน
|
|
38,0020,021,"วางอย่าไว้ในบาลีว่า ""ฉันประณามเธอ"" ""อย่าเข้ามา ณ ที่นี้"""
|
|
|