|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
39,0025,001,ธรรม ๒
|
|
39,0025,002,<B>สังขตธรรม</B> ธรรมอันปัจจัยปรุง
|
|
39,0025,003,<B>อสังขตธรรม</B> ธรรมอันปัจจัยไม่ได้ปรุง
|
|
39,0025,004,<B>ธรรม</B>ในที่นี้ เป็นการทรงจำแนกธรรมออกไปเป็น ๒ ประเภท
|
|
39,0025,005,ใหญ่ ๆ ซึ่งเป็นการรวมสิ่งที่เรียกธรรมไว้ทั้งหมดในที่เดียวกัน ทำนอง
|
|
39,0025,006,เดียวกับ<B>โลกิยธรรม</B> และ<B>โลกุตรธรรม</B> คือ
|
|
39,0025,007,<B>๑. สังขตธรรม</B> ได้แก่สิ่งที่เป็นรูปธรรมก็ตาม นามธรรมก็ตาม
|
|
39,0025,008,ที่เกิดจากเหตุปัจจัย ไม่สามารถรักษาสภาพเดิมของตนไว้ได้ ต้องเปลี่ยน
|
|
39,0025,009,แปลง แปรปรวนอยู่ทุกขณะ ถ้าสิ่งที่มีชีวิตเรามักใช้คำว่า <B>เกิด แก่ ตาย</B>
|
|
39,0025,010,ถ้าสิ่งไม่มีชีวิตเรามักใช้คำว่า <B>เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป</B> หรืออาจจะพูดว่า
|
|
39,0025,011,เกิดขึ้นในเบื้องต้น แปรปรวนเปลี่ยนแปลงไปท่ามกลาง แตกสลายไปในที่สุด
|
|
39,0025,012,ถ้ามองจากสามัญลักษณะ หรือไตรลักษณ์ <B>สังขตธรรมก็ดี รูปธรรมก็ดี
|
|
39,0025,013,อรูปธรรม</B>บางประเภทก็ดี <B>โลกิยธรรมก็ดี</B> ล้วนแล้วแต่เป็นสิ่งที่ตกอยู่ใน
|
|
39,0025,014,อำนาจของไตรลักษณ์ <B>ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา</B>
|
|
39,0025,015,<B>อรูปธรรม</B> คือ <B> มรรค ผล นิพพาน</B> จัดเป็น<B>โลกุตรธรรม</B> ซึ่งได้แก่
|
|
39,0025,016,<B>อสังขตธรรม</B> คือธรรมอันปัจจัยไม่ได้ปรุงแต่ง เมื่อเป็นเช่นนี้จึงเป็น <B>สภาวะ
|
|
39,0025,017,ที่เที่ยงแท้ เป็นบรมสุข</B> และ<B>เป็นอนัตตา</B> คือว่างจากตัวตน กิเลส ตัณหา
|
|
39,0025,018,เหตุนั้นท่านจึงแสดงว่า
|
|
|