|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
39,0028,001,พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้แสวงคุณอันยิ่งใหญ่ พ้นแล้ว
|
|
39,0028,002,จากตัณหาเครื่องร้อยรัด ตรัสรู้ธรรมส่วนหนึ่ง ธรรมที่ไม่ตาย ธรรมที่เที่ยง
|
|
39,0028,003,ธรรมที่ปัจจัยอะไร ๆ ปรุงแต่งไม่ได้ ธรรมที่ไม่มีสิ่งใดประเสริฐยิ่งกว่า
|
|
39,0028,004,๕. เมื่อกล่าวอย่างสามัญที่สุด นิพพาน คือ เป็นที่ดับสนิทแห่งตัณหา
|
|
39,0028,005,ซึ่งเมื่อดับไปแล้วจะไม่เกิดขึ้นอีก กิเลสดับสิ้นไปเมื่อใด เมื่อนั้นแหละจะถึง
|
|
39,0028,006,ซึ่งนิพพาน ธรรมชาติที่พ้นจากตัณหาเครื่องร้อยรัดนั้นเรียกว่า นิพพาน
|
|
39,0028,007,ธรรมชาติของสันติ ที่เกิดโดยพ้นจากตัณหา เรียกว่านิพพาน
|
|
39,0028,008,เมื่อว่าโดยประเภท นิพพานมี ๒ ประเภท คือ
|
|
39,0028,009,<B>๑. สอุปทาทิเสสนิพพาน</B> ดับกิเลสยังมีเบญจขันธ์เหลือ
|
|
39,0028,010,<B>๒. อนุปาทิเสสนิพพาน</B> ดับกิเลสไม่มีเบญจขันธ์เหลือ
|
|
39,0028,011,๑. <B>สออุปาทิเสสนิพพาน</B> คือนิพพานที่ดับสิ้นแต่กิเลสอย่างเดียว ส่วน
|
|
39,0028,012,ขันธ์ ๕ ยังเหลืออยู่ คือ สภาพที่ทำให้สิ้นจากกิเลสในขณะแห่งมรรค คือ
|
|
39,0028,013,สอุปาทิเสสนิพพาน
|
|
39,0028,014,๒. <B>อนุปาทิเสสนิพพาน</B> คือความดับทั้งกิเลสและขันธ์ หรือสภาพที่
|
|
39,0028,015,ไม่เกิดซึ่งขันธ์ หลังจาการดับของพระอรหันต์นั้น มีนามว่าอนุปาทิ-
|
|
39,0028,016,เสสนิพพาน
|
|
39,0028,017,ท่านอธิบายลักษณะของนิพพานทั้ง ๒ ไว้หลายนัยเช่น
|
|
39,0028,018,๑. <B>สอุปาทิเสสนิพพาน</B> มีอธิบายอยู่ ๒ นัย นัยหนึ่ง หมายถึง
|
|
39,0028,019,การดับกิเลสของพระอริยบุคคลระดับโสดาบัน สกิทาคามี อนาคามี ล้วน
|
|
39,0028,020,ได้ชื่อว่าเป็น สอุปาทิเสสนิพพานทั้งหมด แต่ว่าโดยนัยหนึ่งหมายถึงการ
|
|
|