|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
41,0010,001,ถ. เจตสิกเช่นไรบ้าง จัดเป็นกิเลสกาม ถ้าจะป้องกันมิให้
|
|
41,0010,002,เจตสิกเช่นนั้นเกิดขึ้นกับจิต จะพึงปฏิบัติอย่างไร ?
|
|
41,0010,003,ต. เจตสิกอันเศร้าหมอง ชักให้ใคร่ ให้รัก ให้อยากได้ มี
|
|
41,0010,004,ตัณหา ราคะ อรติ เป็นอาทิ จัดเป็นกิเลสกาม สำรวมจิตไว้ไม่ปล่อย
|
|
41,0010,005,ให้เพลิดเพลินพัวพันในวัตถุกาม ด้วยอาการคือสำรวมอินทรีย์มิให้
|
|
41,0010,006,ความยินดีครอบงำในเมื่อเห็นรูปอันน่าปรารถนาเป็นต้น มนสิการ
|
|
41,0010,007,กัมมัฏฐานที่เป็นปฏิปักษ์ต่อกามฉันทะ คือ อสุภะ หรือกายคตาสติ
|
|
41,0010,008,หรือการที่ยังจิตให้สลด คือมรณัสสติ เจริญวิปัสสนา คือพิจารณา
|
|
41,0010,009,สังขารแยกออกเป็นขันธ์. สันนิษฐานเห็นเป็นสภาพไม่เที่ยง เป็นทุกข์
|
|
41,0010,010,เป็นอนัตตา.
|
|
41,0010,011,๑/๗/๗๓
|
|
41,0010,012,ถ. ได้ยินว่า ผู้ที่พ้นแล้วจากกามทั้ง ๒ ย่อมได้นิรามิสสุขหรือ
|
|
41,0010,013,สุขอย่างแจ่มใส จะปฏิบัติอย่างไร จึงจะพ้นได้ ? จงอธิบาย และ
|
|
41,0010,014,สงเคราะห์กามทั้ง ๒ นั้นเข้าในขันธ์ ๕ ตามที่เห็นว่าลงกันได้
|
|
41,0010,015,ต. ปฏิบัติอย่างนี้ คือ พึงสะกดใจอย่าให้ลุอำนาจกิเลสนั้น ๆ
|
|
41,0010,016,"อันเกิดขึ้นแล้ว, และสำรวมระวังมิให้เกิดอีกต่อไป จึงจะพ้นจาก"
|
|
41,0010,017,กิเลสกาม ๆ นี้ สงเคราะห์เข้าในสังขารขันธ์ พึงตัดอาลัยอย่าให้ใจ
|
|
41,0010,018,หมกมุ่นอยู่ในวัตถุกามารมณ์นั้น ๆ ด้วยผ่อนผันหาโอกาสพรากกาย
|
|
41,0010,019,ใจให้ห่าง คำนึงในทางที่นำให้เกิดสังเวช พิจารณาเหตุเป็นที่ตั้งแห่ง
|
|
41,0010,020,ความเบื่อหน่าย ทั้งอย่ายินดียินร้ายในเมื่อเห็นรูปด้วยตายเป็นต้น จึง
|
|
|