|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
41,0013,001,ต. เป็นมิจฉาทิฏฐิ เพราะไม่ตรงต่อหลักทิฏฐิธรรมดา ไม่ยุติด้วย
|
|
41,0013,002,เหตุผล สามารถให้ผู้เห็นอย่างนั้นทำชั่วได้ต่าง ๆ อันมนัสหรืออัตตานั้น
|
|
41,0013,003,เป็นโวหารบัญญัติเรียกธรรมชาติที่อาศัยอวิชชา ตัณหา อุปาทาน กรรม
|
|
41,0013,004,เป็นต้น เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เมื่อสิ้นปัจจัยมีอวิชชาเป็นต้นแล้ว ก็ย่อม
|
|
41,0013,005,ดับ ไม่ถือปฏิสนธิต่อไป ถ้าปัจจัยมีอวิชชาเป็นต้นยังไม่ดับ ก็ยังคุมกัน
|
|
41,0013,006,เป็นนามรูปเป็นไปตามกรรมที่ทำไว้ เลวบ้าง ดีบ้าง ฉะนั้น ความ
|
|
41,0013,007,ที่ถูกจึงได้แก่กัมมัสสกตาญาณ ความเห็นว่าสัตว์มีกรรมเป็นของตน
|
|
41,0013,008,กรรมย่อมส่งผลให้ผู้ทำต่างกันตามคราวบ้าง ตามกิจบ้าง ตามลำดับบ้าง
|
|
41,0013,009,จัดเป็นสัมมาทิฏฐิเบื้องต้น ที่จะให้บุคคลระวัง กาย วาจา ใจ ไม่ให้
|
|
41,0013,010,ทำชั่ว และให้ทำแต่ที่ดี เพื่อจะได้มีสุข และสามารถเห็นอริยสัจดังนี้
|
|
41,0013,011,นับเป็นสัมมาทิฏฐิความเห็นที่ถูก และชอบยิ่ง.
|
|
41,0013,012,๒๔๗๕
|
|
41,0013,013,ถ. อุจเฉททิฏฐิ ความเห็นว่าขาดสูญ กับ นัตถิกทิฏฐิ ความ
|
|
41,0013,014,เห็นว่าไม่มี เหมือนกันไม่ใช่หรือ เพราะขาดสูญก็คือไม่มี ความ
|
|
41,0013,015,เห็นปฏิเสธเหตุผลในปัจจุบัน เช่นปฏิเสธสมมติสัจจะ และกัมมัสสกตา
|
|
41,0013,016,เป็นต้น จึงเห็นว่าต่างกันดังนี้.
|
|
41,0013,017,๒๔๗๙
|
|
|