|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
41,0014,001,ถ. ธรรมเทศนาที่แสดงยกบุคคลเป็นที่ตั้ง เรียกปุคคลาธิฏฐาน
|
|
41,0014,002,ถ้ายกธรรมเป็นที่ตั้ง เรียกธัมมาธิฏฐาน ถ้าเช่นนั้นพระพุทธภาษิตที่
|
|
41,0014,003,ว่า ๑. <B>ธมฺโม หเว รกฺขติ ธมฺมจารึ</B> ธรรมย่อมรักษาผู้ประพฤติ
|
|
41,0014,004,ธรรม ๒. <B>วิริเยน ทุกฺขมจฺเจติ</B> คนล่วงทุกข์ได้เพราะความเพียร
|
|
41,0014,005,๓. <B>อตฺตา หิ อตฺตโน ปาโถ</B> ตนแลเป็นที่พึ่งของตน ไหนเป็น
|
|
41,0014,006,ปุคคลาธิฏฐาน ? เพราะเหตุไรจึงว่าอย่างนั้น ?
|
|
41,0014,007,ต. พระพุทธภาษิตข้อต้นเป็นได้ทั้ง ๒ คือ ถ้าเพ่งเฉพาะธรรม
|
|
41,0014,008,เป็นธัมมาธิฐาน ถ้าเพ่งถึงผู้ประพฤติ เป็นปุคคลาธิฏฐาน เพราะคำ
|
|
41,0014,009,"ที่ว่า "" ผู้ "" นั้นเป็นคุณของคน แสดงบุคคลให้ปรากฏเป็นที่ตั้ง. ข้อที่ ๒"
|
|
41,0014,010,เป็นบุคคลธิฏฐานอย่างเดียว ส่วนข้อที่ ๓ เป็นธัมมาธิฏฐาน เพราะ
|
|
41,0014,011,"ไม่ได้ยกบุคคลเป็นที่ตั้ง แม้มีคำว่า ""ตน"" อยู่ด้วยก็ตาม คำว่า"
|
|
41,0014,012,""" ตน "" ท่านก็ได้หมายรูปร่างของคน."
|
|
41,0014,013,ส.ป.
|
|
41,0014,014,ถ. รูปธรรมกับอรูปธรรมมีลักษณะต่างกันอย่างไร ? ขันธ์ ๕
|
|
41,0014,015,ธาตุ ๔ เป็นรูปธรรมหรืออรูปธรรม ?
|
|
41,0014,016,ต. สภาวะที่มีรูปซึ่งจะพึงเห็นได้ด้วยตา เรียกว่ารูปธรรม. สภาวะ
|
|
41,0014,017,ที่ไม่มีรูปปรากฏ มีแต่ชื่อเท่านั้น เรียกว่าอรูปธรรม. ขันธ์ ๕. รูป
|
|
41,0014,018,คงเป็นรูป ธรรมนอกนั้นเป็นอรูปธรรม ธาตุ ๔ เป็นรูปธรรมทั้งสิ้น.
|
|
41,0014,019,ส.ป.
|
|
41,0014,020,ถ. รูปธรรม กับอรูปธรรม มีลักษณะต่างกันอย่างไร ?
|
|
41,0014,021,"ขันธ์ ๕, โอกาสธาตุ, เป็นรูปธรรมหรืออรูปธรรม ?"
|
|
|