|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
41,0034,001,ต. ผู้ทำบุญปรารภภาวะของตนผู้เป็นอิสระ ทำด้วยมุ่งให้สมภาวะ
|
|
41,0034,002,ของตน ผู้ทำมุ่งผลอันจะได้แก่ตน หรือมุ่งความสะดวกแห่งตน
|
|
41,0034,003,เช่นนี้ เป็นอัตตาธิปเตยยะ ผู้ทำบุญมุ่งจะให้เขาสรรเสริญ หรือ
|
|
41,0034,004,ไม่ทำเกรงเขาจะนินทา หรือทำตามความนิยมของเขาทั้งหลาย เช่น
|
|
41,0034,005,นี้ เป็นโลกาธิปเตยยะ. ผู้ทำบุญไม่มุ่งดังแสดงมาแล้ว เป็นแต่เห็น
|
|
41,0034,006,สมควร เห็นว่าถูกก็ทำ หรือทำด้วยอำนาจเมตตากรุณาเป็นอาทิ
|
|
41,0034,007,เช่นนี้ เป็นธรรมาธิปเตยยะ.
|
|
41,0034,008,๒๔๗๓
|
|
41,0034,009,ถ. อัตตัญญุตา ความเป็นรู้จักตน แล้วประพฤติตนให้สมควร
|
|
41,0034,010,แก่ที่เป็นอยู่ ท่านยกย่องว่าเป็นสัปปุริสธรรม ส่วนอัตตาธิปเตยยะ
|
|
41,0034,011,ความมีตนเป็นใหญ่ เช่นทำบุญมุ่งให้สมภาวะของตน ท่านกลับติ
|
|
41,0034,012,ธรรมทั้ง ๒ นี้มีตนเป็นหลักเหมือนกัน แต่เหตุไรท่านจึงยกย่องฝ่ายหนึ่ง
|
|
41,0034,013,ติอีกฝ่ายหนึ่ง ?
|
|
41,0034,014,ต. มีตนเป็นหลักเหมือนกันจริง แต่เพราะความประสงค์ต่างกัน
|
|
41,0034,015,คือ อัตตัญญุตา ประสงค์ความรู้จักตนแล้วประพฤติให้สมควรแก่
|
|
41,0034,016,ฐานะของตน ซึ่งเป็นความดี ท่านจึงยกย่อง ส่วนอัตตาธิปเตยยะ
|
|
41,0034,017,ประสงค์ความประพฤติเห็นแก่ตัวเป็นประมาณ ไม่มุ่งความถูกธรรม
|
|
41,0034,018,ความสมควรเป็นประมาณ เช่นจะทำการบริจาค ถ้าเห็นความถูกธรรม
|
|
41,0034,019,มีตา จึงพอใจทำ ไม่เช่นนั้นไม่ทำ เช่นนี้ เรียกว่าทำดี แต่ไม่มุ่ง
|
|
41,0034,020,ความดี ท่านจึงติ
|
|
41,0034,021,๒๔๗๖
|
|
|