|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
41,0035,001,ถ. จงแสดงอนุตตริยะ ๓ ให้เป็นเหตุผลเนื่องถึงกัน ?
|
|
41,0035,002,ต. เนื่องกันอย่างนี้ ความเห็นอันเยี่ยมนั้น หมายเอาความ
|
|
41,0035,003,เห็นธรรมอย่างสูง คือธรรมอันเป็นเหตุและผลเนื่องถึงกัน ทั้งส่วนที่
|
|
41,0035,004,เป็นสุข และส่วนที่เป็นทุกข์ อันจัดว่าเป็นทัสสนานุตตริยะนั้น ย่อม
|
|
41,0035,005,เป็นปัจจัยให้ละเหตุแห่งทุกข์ ประกอบเหตุแห่งสุข อาการที่ทำ
|
|
41,0035,006,การละเหตุแห่งทุกข์ ประกอบเหตุแห่งสุข อันเป็นผลเนื่องมาจาก
|
|
41,0035,007,ความเห็นอย่างเยี่ยมนี้ จัดเป็นปฏิปทานุตตริยะ ๆ นี้ย่อมเป็นเหตุให้พ้น
|
|
41,0035,008,จากกิเลสาสวะ เมื่อพ้นจากกิเลสาสวะเป็นอกุปปธรรม อันเป็นผลสืบ
|
|
41,0035,009,เนื่องมาจากความปฏิบัติดีขึ้น เรียกว่า วิมุตตานุตตริยะ อนุตตริยะ ๓
|
|
41,0035,010,เป็นเหตุผลเนื่องกันดังนี้.
|
|
41,0035,011,๒๔๗๘-๗๐-๗๕
|
|
41,0035,012,ถ. ทัสสนานุตตริยะ ย่อมมีได้ด้วยการศึกษาปริยัติธรรม หรือมี
|
|
41,0035,013,ได้ด้วยปฏิปทานุตตริยะ อย่างไร ?
|
|
41,0035,014,ต. ทัสสนานุตตริยะ ย่อมมีได้ด้วยการศึกษาปริยัติธรรม และ
|
|
41,0035,015,ปฏิบัติควบกันไป.
|
|
41,0035,016,๒๔๗๘
|
|
41,0035,017,ถ. ความพ้นอย่างไร จัดเป็นวิมุตตานุตตริยะ อย่างไรไม่เป็น ?
|
|
41,0035,018,ต. ความพ้นจากกิเลสาสวะได้โดยเด็ดขาด ไม่มีทางที่จะกลับ
|
|
41,0035,019,กำเริบอีก จัดเป็นวิมุตตานุตตริยะ ถ้าพ้นจากกิเลสแล้วยังกลับกำเริบ
|
|
41,0035,020,ได้อีกก็ดี พ้นอย่างอื่นก็ดี ไม่จัดเป็นวิมุตตานุตตริยะ.
|
|
41,0035,021,ส. ป.
|
|
|