|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
42,0036,001,รูปพรรณสันฐาน ๑ กิเลส ๑ อาบัติ ๑ คำสบประมาทอย่างอื่น
|
|
42,0036,002,อีก ๑ กิริยาพูดเสียดแทงนั้น เป็นไปโดยอาการ ๒ สถาน แกล้งพูด
|
|
42,0036,003,ยกยอด้วยเรื่องที่ดีกระทบถึงชาติเป็นต้น ซึ่งเรียกว่าแดกบ้าง ประชด
|
|
42,0036,004,บ้างอย่าง ๑ พูดกดให้เลวลง ซึ่งเรียกว่าด่า ๑ กล่าวเสียแทง
|
|
42,0036,005,อุปสัมบันโดยจัง ๑ เป็นปาจิตตีย์ กล่าวไม่เจาะตัว ว่าเปรย ๆ ก็ดี
|
|
42,0036,006,กล่าวเสียดแทงอนุปสัมบันด้วยอาการทั้ง ๒ นั้นก็ดี เป็นทุกกฏ พูด
|
|
42,0036,007,ล้อเล่นกับอุปสัมบันและอนุปสัมบัน พูดเจาะตัวหรือพูดเปรย เป็น
|
|
42,0036,008,ทุพภาสิต ถ้ามุ่งอรรถธรรมคำสั่งสอนเป็นเบื้องหน้า ไม่เป็นอาบัติ.
|
|
42,0036,009,๒๕/๑๑/๒๔๖๒
|
|
42,0036,010,ถ. มีผู้มานิมนต์ให้ภิกษุไปรับบิณฑบาตในที่แห่งหนึ่งในเวลา
|
|
42,0036,011,รุ่งเช้า เธอตั้งใจจะไป และบอกรับแก่เขา แต่ครั้นเวลารุ่งเช้า เธอ
|
|
42,0036,012,กลับใจเสียแล้ว ไม่ ไปตามกำหนด เช่นนี้จะปรับเธอเป็นมุสาวาทใน
|
|
42,0036,013,ขณะกล่าวได้หรือไม่ ? ถ้าได้ก็แล้วไป ถ้าไม่ได้ ควรจะปรับอาบัติ
|
|
42,0036,014,อะไร ?
|
|
42,0036,015,ต. ปรับไม่ได้ ควรปรับเป็นปฏิสสวทุกกฏ.
|
|
42,0036,016,๑๒/๙/๒๔๖๖
|
|
42,0036,017,ถ. ภิกษุพูดมุสาอวดอุตติมนุสสธรรมก็ดี โจทภิกษุอื่นด้วย
|
|
42,0036,018,ปาราชิกก็ดี ถูกปรับอาบัติแรงกว่าปาจิตตีย์ ก็สมควรแล้ว ภิกษุ
|
|
42,0036,019,พูดมุสาโจทอื่นด้วยอาจารวิบัติ ในวิภังค์ท่านปรับเพียงอาบัติทุกกฏ
|
|
42,0036,020,เพลากว่าพูดมุสาไม่ได้ให้ร้ายแก่ผู้อื่นเสียอีก นี้อย่างไรอยู่ ?
|
|
|