dhamma-scholar-book / 42 /420043.csv
uisp's picture
init upload
c5b6280
Book,Page,LineNumber,Text
42,0043,001,"ที่ ๗, ๘, ๙, ๑๐ แห่งรตนวรรคในปาจิตตียกัณฑ์เป็นต้น."
42,0043,002,ค. มาตราตวง ที่มาเช่นเรื่องขนาดบาตรเป็นต้น.
42,0043,003,ฆ. มาตราชั่ง ที่มาเช่นเรื่องทุติยปาราชิก.
42,0043,004,ง. มาตรารูปิยะ ที่มาเช่นในเรื่องทุติยปาราชิกเหมือนกัน.
42,0043,005,๒๖/๑๑/๒๔๖๓
42,0043,006,ถ. มาตราเวลานั้นจับหลักจากอะไรบ้างอย่างไร ? ไฉนบางปีจึง
42,0043,007,ต้องเพิ่มอธิกมาส เพิ่มอย่างไร ? จงแสดง.
42,0043,008,ต. มาตราเวลานั้น ท่านจับหลักจากการโคจรแห่งดวงอาทิตย์
42,0043,009,และดวงจันทร์ โคจรห่างจากจักรราศีพระอาทิตย์ออกไปถึงวันเพ็ญ
42,0043,010,เป็นซีกสว่างเรียกศุกลปักษ์ ตั้งแต่พระจันทร์โคจรเข้าหาจักรราศี
42,0043,011,แห่งดวงอาทิตย์ใกล้เข้ามาจนถึงอมาวสีเดือนมืด เรียกกาฬปักษ์
42,0043,012,ในปักษ์ ๑ มี ๑๔ วันบ้าง ๑๕ วันบ้าง เพราะพระจันทร์โคจรรอบโลก
42,0043,013,ครั้ง ๑ เป็นเวลา ๒๙ วันครึ่งมีเศษ นับเป็น ๑ เดือน ๒ เดือน เป็น
42,0043,014,วัน ๕๙ วันเศษ เหตุนี้จึงมี ๑๔ วันบ้าง ๑๕ วันบ้าง เป็น ๑ ปักษ์
42,0043,015,ชื่อเดือนนั้น ท่านตั้งชื่อตามดาวฤกษ์ที่พระจันทร์โคจรมาถึงวันเพ็ญ
42,0043,016,เวลาเที่ยงคืน กำหนด ๔ เดือน เป็น ๑ ฤดู ๑ ปี เป็น ๓ ฤดู ตามอาการ
42,0043,017,ที่ธรรมดาให้เป็น คือ แห้งผาก ไม้ผลิ ฝนชุก หรือ หนาว ร้อน ฝน
42,0043,018,พระจันทร์โคจร ๑๒ รอบ ได้วัน ๓๕๕ วันเศษ จัดเป็น ๑ ปี แต่ฤดูเหล่า
42,0043,019,นี้ย่อมเป็นไปตามโคจรของพระอาทิตย์ พระอาทิตย์โคจร ๑ รอบเป็นวัน
42,0043,020,๓๖๕ วัน ๖ นาฬิกาเศษ ผิดกันกับวันจันทรคติอยู่ปีละ ๑๑ วันเศษ ๓ ปี
42,0043,021,ผิดกัน ๓๔ วันกว่า ถ้าไม่มีอธิกมาสเพิ่มเข้า เอาหลักทางสุริยคติ ฤดู