dhamma-scholar-book / 42 /420048.csv
uisp's picture
init upload
c5b6280
Book,Page,LineNumber,Text
42,0048,001,โทษแก่ภิกษุผู้ประพฤติล่วงละเมิดไว้อย่างไร ? และภิกษุผู้ปฏิบัติรักษา
42,0048,002,สิกขาบทแผนกนี้ไว้อย่างไร จึงเรียกได้ว่าพอดีพองาม ยังพอจะสืบ
42,0048,003,อายุพระพุทธศาสนาต่อไปได้อยู่ ?
42,0048,004,ต. ท่านจัดแบ่งรูปเป็น ๒ แผนก คือเป็นข้อห้าม ๑ เป็นข้อ
42,0048,005,"อนุญาต ๑, และข้อห้ามนั้น ปรับอาบัติโดยตรงมีเพียง ๒ คือถุล-"
42,0048,006,"ลัจจัย ๑ มีห่าง ๆ ทุกกฏ ๑ มีพื้นเป็นไป, ที่ไม่ได้ปรับอาบัติโดยตรง"
42,0048,007,เป็นแต่กล่าวว่า อย่า ๆ ไม่ ๆ เป็นคำแนะนำคำสอนก็มี เมื่อไม่
42,0048,008,เอื้อเฟื้อในที่จะเว้น พระอาจารย์ท่านปรับอาบัติทุกกฏดุจในเสขิยะ.
42,0048,009,ภิกษุผู้ปฏิบัติรักษาโดยสายกลาง ไม่ทำตนให้ลำบากเพราะธรรมเนียม
42,0048,010,อันขัดขวางต่อกาลเทศะ และไม่มักง่ายจนถึงจะทำตนให้เป็นผู้เลว
42,0048,011,ทราม ปฏิบัติได้เพียงเท่านี้ก็เรียกได้ว่า พอดีพองาม ยังพอจะสืบอายุ
42,0048,012,พระพุทธศาสนาได้อยู่.
42,0048,013,๒๕๑๔
42,0048,014,ถ. ความสะอาดเป็นคุณสมบัติของผู้ดีมีสกุลประการหนึ่ง โดย
42,0048,015,เฉพาะผู้ที่เกี่ยวข้องกับสังคมมีความจำเป็นมาก เพื่อกันสังคมรังเกียจ
42,0048,016,"นอกจากนี้ยังเป็นเหตุแห่งความเจริญได้ด้วย ดังคำว่า "" สะอาดกายเจริญวัย"
42,0048,017,"สะอาดใจเจริญสุข "" อยากทราบว่า ในพระวินัย มีพระพุทธบัญญัติให้"
42,0048,018,รักษาความสะอาดเกี่ยวกับสรีระไว้ประการใดบ้างหรือไม่ ? จงอ้างหลัก.
42,0048,019,ต. มีพระพุทธบัญญัติไว้ในส่วนอภิสมาจาร ว่าด้วยเรื่องกาย-
42,0048,020,บริหาร เช่นห้ามไว้ผมยาว ห้ามไว้หนวดเครา ห้ามไว้เล็บยาว ห้าม
42,0048,021,ไว้ขนจมูกยาว เมื่อถ่ายอุจจาระแล้ว น้ำมีอยู่ไม่ชำระไม่ได้ อนุญาต