dhamma-scholar-book / 45 /450047.csv
uisp's picture
init upload
c5b6280
Book,Page,LineNumber,Text
45,0047,001,แต่เมื่อรวมโมรปริตต์เข้ากับธชัคคปริตต์ ก็เหลือเพียง ๗
45,0047,002,ในการสวดทั่วไป นิยมใช้สวดเพียง ๗ หัวข้อ หรือน้อยกว่าที่ใช้สวดหมด
45,0047,003,ทั้ง ๘ ก็มี ทั้งนี้แล้วแต่ความสำคัญใหญ่โตของงาน และเวลาที่สวดจะอำนวยให้ได้
45,0047,004,เพียงไร ฉะนั้น ในการสวดเจ็ดตำนานนี้จึงเกิดนิยมแบบขึ้นในภายหลังเป็นหลายแบบ
45,0047,005,เช่น ในปัจจุบันนี้นิยมใช้กันเป็น ๓ แบบ เรียกว่า <B>แบบเต็ม แบบย่อ</B> และ<B>แบบลัด</B>
45,0047,006,จะได้ชี้แจงระเบียบของแบบต่าง ๆ นี้ต่อไป
45,0047,007,ก่อนอื่น พึงทราบไว้ในนี้ด้วยว่า การเจริญพระพุทธมนต์ หรือสวดพระ
45,0047,008,พุทธมนต์ในงานบุญพิธีต่าง ๆ จะสวดบทสวดมนต์อย่างไรก็ตามบทสวดมนต์นั้น ๆ
45,0047,009,"ต้องมีเบื้องต้นเรียกว่า ""<B>ต้นสวดมนต์</B>"" หรือ ""<B>ต้นตำนาน</B>"" บทสวดเบื้องต้นนี้จะได้"
45,0047,010,ชี้แจงในเมื่อกล่าวถึงงานที่ใช้บทสวดมนต์นั้น ๆ ต่อจากบทสวดเบื้องต้นนี้จึงถึงท่าม
45,0047,011,กลางสวดมนต์ซึ่งได้แก่ตำนาน หรือพระปริตร หรือสูตรต่าง ๆ ตามกำหนด สุดท้าย
45,0047,012,"จึงเป็นเบื้องปลายของบทสวดมนต์ เรียกว่า ""<B>ท้ายสวดมนต์</B>"" จะได้กล่าวเฉพาะพิธี"
45,0047,013,และงานเช่นกัน
45,0047,014,เมื่อทราบว่า บทสวดมนต์ในพิธีมีเบื้องต้น ท่ามกลาง และเบื้องปลายฉะนี้
45,0047,015,แล้ว ต่อไปจะได้ชี้แจงระเบียบพิธีสวดเจ็ดตำนานแบบต่าง ๆ ในงานมงคลทั่วไป
45,0047,016,ก) ถ้างานใหญ่ โดยเจ้าภาพเป็นผู้มากด้วยศรัทธา ตั้งใจทำบุญนั้นให้เป็น
45,0047,017,งานใหญ่โตจริง ๆ มีสวดมนต์เย็นวันหนึ่งก่อน รุ่งขึ้นเลี้ยงพระในการสวดมนต์งานใหญ่นี้
45,0047,018,ถ้าเห็นสมควรและมีเวลาพอ ประกอบทั้งพระสงฆ์ผู้สวดสามารถทุกรูปก็นิยมสวด
45,0047,019,บทเจ็ดตำนานเต็ม ทั้งเบื้องต้น ท่ามกลาง และเบื้องปลาย ให้พระขัดตำนานขัดนำทุก
45,0047,020,ตอนและทุกบทที่สวดด้วย ดังนี้
45,0047,021,(๑) ต้นตานาน ดำเนินพิธีโดยลำดับ คือ :-
45,0047,022,ขัดนำ <B>สคฺเค</B> ถ้าสวดในงานพระราชพิธี ไม่ว่าจะสวดในที่แห่งใด ต่อ
45,0047,023,หน้าพระที่นั่งหรือไม่ก็ตาม ขัดขึ้นต้นตั้งแต่ <B>สรชฺชํ สเสนํ</B>... ไป แต่ถ้า
45,0047,024,สวดในงานราษฎร์ทั่วไป ขัดขึ้นต้นตรง <B>ผริตฺวาน เมตฺตํ</B>... ไป