|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
47,0028,001,๖. <B>ปาหุเนยโย</B> ผู้ควรของต้อนรับ.
|
|
47,0028,002,๗. <B>ทักขิเณยโย</B> ผู้ควรของทำบุญ.
|
|
47,0028,003,๘. <B>อัญชลิกรณีโย</B> ผู้ควรทำอัญชลี.
|
|
47,0028,004,๙. <B>อนุตตรัง ปุญญัก-</B> ผู้เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอย่าง
|
|
47,0028,005,<B>เขตตัง โลกัสสะ</B> อื่นยิ่งกว่า.
|
|
47,0028,006,ตอน <B>ยทิทัง จัตตาริ ปุริสยุคานิ อัฏฐ ปุริสปุคคลา เอส ภวคโต
|
|
47,0028,007,สาวกสังโฆ</B> เป็นเนื้อความแสดงลักษณะของพระสงฆ์.
|
|
47,0028,008,สงเคราะห์พระคุณ ๙ บทลงในพระคุณ ๒ คือ
|
|
47,0028,009,๑. ตั้งแต่บทที่ ๑ ถึงบทที่ ๔ แสดงพระคุณเฉพาะตนสงเคราะห์
|
|
47,0028,010,เป็นอัตตหิตคุณ หรืออัตตหิตสมบัติ คือสมบัติที่เกื้อกูลแก่ตน.
|
|
47,0028,011,๒. ตั้งแต่บทที่ ๕ ถึงบทที ๙ แสดงพระคุณอันเป็นไปเพื่อ
|
|
47,0028,012,ประโยชน์แก่ผู้อื่น สงเคราะห์เป็นปรหิตคุณ หรือรหิตสมบัติ คือ
|
|
47,0028,013,สมบัติเป็นเครื่องเกื้อกูลแก่ผู้อื่น.
|
|
47,0028,014,๔. สีลานุสสติ
|
|
47,0028,015,ศีลมีประเภทต่าง ๆ เป็นต้นว่าศีล ๕-๘ เมื่อกล่าวโดยย่อคือการ
|
|
47,0028,016,รักษากายวาจาเรียกร้อย การระลึกถึงศีล ต้องชำระศีลของตนให้บริสุทธิ์
|
|
47,0028,017,คือไม่ให้ขาด ไม่ให้ต่าง ไม่ให้พร้อย แล้วพิจารณาซึ่งศีลของตนด้วย
|
|
47,0028,018,สามารถแห่งความบริสุทธิ์.
|
|
47,0028,019,๕. จาคานุสสติ
|
|
47,0028,020,พึงทำใจของตนให้ยินดีรักใคร่ในอันบริจาคทาน. อนึ่งพึงตั้งจิตว่า
|
|
47,0028,021,ต่อไปนี้ ถ้าปฏิคคาหกมี เราไม่ได้ให้ทานก่อนแล้ว เราจักไม่บริโภค ถือ
|
|
|