|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
48,0007,001,๓. ทิฆะ สระที่ออกเสียงยาว.
|
|
48,0007,002,๔. รัสสะ สระที่ออกเสียงสั้น.
|
|
48,0007,003,๕. ครุ สระที่มีพยัญชนะสังโยค.
|
|
48,0007,004,๖. ลหุ สระที่ไม่มีพยัญชนะสังโยค.
|
|
48,0007,005,๗. นิคคหิต อักขระที่ว่ากดเสียง.
|
|
48,0007,006,๘. วิมุต อักขระที่ว่าปล่อยเสียง.
|
|
48,0007,007,๙. สัมพันธ์ บทเข้าสนธิเชื่อมกับบทอื่น.
|
|
48,0007,008,๑๐. ววัตถิตะ บทแยกกัน.
|
|
48,0007,009,กรรมย่อมเสียเพราะว่าผิดพลาดในประเภทพยัญชนะ ๔ คือ :-
|
|
48,0007,010,"๑. ว่าสิถิลเป็นธนิต เช่นว่า <B>"" สุณาตุ เม ""</B> เป็น <B>"" สุณาถุ เม.""</B>"
|
|
48,0007,011,"๒. ว่าธนิตเป็นสิถิล เช่นว่า <B>"" ภนฺเต สงฺโฆ ""</B> เป็น <B>""พนฺเต สงฺโค.""</B>"
|
|
48,0007,012,"๓. ว่าวิมุตเป็นนิคคหิต เช่นว่า <B>"" เอสาตฺติ ""</B> เป็น <B>"" เอสํ ตฺติ.""</B>"
|
|
48,0007,013,"๔. ว่านิคคหิตเป็นวิมุต เช่นว่า <B>"" ปตฺตกลฺลํ ""</B> เป็น <B>"" ปตฺตกลฺลา.""</B>"
|
|
48,0007,014,(ส่วนอีก ๖ สถานนั้น ว่ากลับกันหรือแยกกัน กรรมวาจาไม่
|
|
48,0007,015,เสีย แต่ควรว่าให้ถูกและดี).
|
|
|