|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
48,0047,001,๑. ทำความเห็นให้แจ้งในอาบัติ.
|
|
48,0047,002,๒. ทำความเห็นให้แจ้งในอาบัติเป็นเทสนาคามินี.
|
|
48,0047,003,๓. ทำความเห็นให้แจ้งในอาบัติอันยังไม่ได้แสดง.
|
|
48,0047,004,๔. ไม่ทำความเห็นให้แจ้งพร้อมกัน ๔ รูป ๕ รูป.
|
|
48,0047,005,๕. ไม่ทำความเห็นให้แจ้งด้วยนึกในใจ.
|
|
48,0047,006,๖. ทำความเห็นให้แจ้งในสมานสังวาส.
|
|
48,0047,007,๗. ทำความเห็นให้แจ้งในสำนักตั้งอยู่ในสีมาเดียวกัน.
|
|
48,0047,008,๘. ทำความเห็นให้แจ้งในสำนักแห่งผู้เป็นปกตัตตะ.
|
|
48,0047,009,มีวิธีระงับอนุวาทาธิกรณ์ด้วยไม่ต้องพิจารณาอีก ๒ คือ :-
|
|
48,0047,010,๑. จำเลยเป็นผู้มีสติไพบูลย์ คือเป็นพระอรหันต์ สงฆ์ประกาศให้สติ
|
|
48,0047,011,วินัยแก่ท่านแล้ว.
|
|
48,0047,012,๒. จำเลยถูกโจทด้วยเรื่องที่ทำในคราวเป็นบ้า สงฆ์ประกาศให้อมูฬห-
|
|
48,0047,013,วินัยแก่เธอแล้ว.
|
|
48,0047,014,ผลร้ายของอนุวาทาธิกรณ์ที่เกิดขึ้นแล้วไม่รีบระงับเสีย จักทำให้
|
|
48,0047,015,เสียสีลสามัญญตาและเสียสามัคคี เป็นทางแตกเป็นนานาสังวาสจนถึงเป็น
|
|
48,0047,016,นานานิกาย ฉะนั้น ผู้เป็นประธานสงฆ์พึงขวนขวายรีบระงับเสีย.
|
|
|