|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
50,0016,001,ด้วย มิฉะนั้นทราบมิได้ว่า เป็นอาการแห่งอะไร ในที่นี้ ขนฺธานํ
|
|
50,0016,002,เป็นตัวสังขาร ปาตุภาโว เป็นชาติ ซึ่งเป็นอาการ.
|
|
50,0016,003,๒๔๗๕
|
|
50,0016,004,ถ. ในนิทเทสแห่งทุกขสัจ แสดง โสกะ ปริเทวะ อุปายาส
|
|
50,0016,005,ว่าเกิดแต่เหตุคือ ความฉิบหาย หรือเพราะทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่ง
|
|
50,0016,006,มาถึงเข้า โดยใจความก็คือถูกพรากจากอารมณ์ที่พอใจบ้าง ถูก
|
|
50,0016,007,ประจวบกับอารมณ์ที่ไม่พอใจบ้างนั่นเอง แต่เหตุไรท่านจึงจัดอัปปิย-
|
|
50,0016,008,สัมปโยคทุกข์ กับ ปิยวิปปโยคทุกข์ ซึ่งมีอาการคล้ายเหตุแห่งทุกข์ ๓
|
|
50,0016,009,นั้น ว่าเป็นทุกข์อีก ๒ ประการซ้ำเข้ามาอีก ? จงชี้แจง.
|
|
50,0016,010,ต. ขอชี้แจงว่า ในนิทเทสแห่งทุกขสัจนี้ ท่านมุ่งแสดง
|
|
50,0016,011,เจตสิกทุกข์ซึ่งเป็นส่วนผล หาได้มุ่งแสดงเหตุแห่งทุกข์ไม่ เพราะเหตุ
|
|
50,0016,012,จักแสดงในสมุทยสัจข้างหน้า แม้ปกิณณกทุกข์เหล่านั้น จะคล้าย
|
|
50,0016,013,กันโดยเหตุภายนอกบ้างก็ตาม แต่ก็ยังต่างกันโดยอาการที่ปรากฏ
|
|
50,0016,014,กัจจิต คือที่รุ่นแรงก็มี ที่เพลาก็มี พิจารณาตามอาการจะเห็นว่า
|
|
50,0016,015,ความอึดอัด ความขึ้งเคียด ความเกลียดชัง เป็นอัปปิยสัมปโยคทุกข์
|
|
50,0016,016,ความเปลี่ยวเปล่าว้าเหว่ใจ เป็นปิยวิปปโยคทุกข์ ทั้ง ๒ ประการ
|
|
50,0016,017,เพลากว่า โสกะ ปริเทวะ อุปายาส แม้โสกะ ปริเทวะ อุปายาส
|
|
50,0016,018,ก็เกิดโดยสมุฏฐานอย่างเดียวกัน แต่ก็ยังต่างกันโดยอาการ เพราะ
|
|
50,0016,019,ฉะนั้น จึงเห็นว่าเหตุจะคล้ายกัน แต่อาการของทุกข์เหล่านั้นย่อม
|
|
50,0016,020,ต่างกัน โดยใจความ อัปปิยสัมปโยคกับวิปปโยค เป็นเหตุของ
|
|
|