dhamma-scholar-book / 50 /500029.csv
uisp's picture
init upload
c5b6280
Book,Page,LineNumber,Text
50,0029,001,ให้สร่าง ปิปาสวินโย ความนำเสียซึ่งความระหาย อาลยสมุคฺฆาโต
50,0029,002,ความถอนขึ้นด้วยดีซึ่งอาลัย วฏฺฏูปจฺเฉโท ความเข้าไปตัดเสียซึ่ง
50,0029,003,วัฏฏะ ตณฺหกฺขโย ความสิ้นแห่งตัณหา วิราโค ความสิ้นกำหนัด
50,0029,004,นิโรโธ ความดับ นิพฺพานํ ธรรมชาติหาเครื่องเสียดแทงมิได้.
50,0029,005,๕/๙/๖๗
50,0029,006,ถ. วิราคะเป็นยอดแห่งธรรมทั้งที่เป็นสังขตะ ทั้งที่เป็นสังขตะ
50,0029,007,ถ้าอย่างนั้นอสังขตะกับวิราคะทั้ง ๒ นี้ ไหนจะเป็นเหตุผลแห่งกัน
50,0029,008,และกัน ?
50,0029,009,ต. ถ้ายอมรับรองว่า สอุปาทิเสสนิพพานเป็นเหตุแห่งอนุ-
50,0029,010,ปาทิเสสนิพพานแล้ว วิราคะก็เป็นเหตุแห่งอสังขตะ ๆ เป็นผลแห่ง
50,0029,011,วิราคะ เพราะวิราคะหมายเอาสอุปาทิเทสสนิพพาน อสังขตะหมาย
50,0029,012,เอาอนุปาทิเสสนิพพาน.
50,0029,013,๑๓/๙/๖๗
50,0029,014,ถ. อาลยสมุคฺฆาโต ท่านว่าเป็นไวพจน์ของวิราคะ โดยอธิบาย
50,0029,015,อย่างไร ?
50,0029,016,ต. โดยอธิบายอย่างนี้ คำว่าอาลัย หมายความว่าติดพันหรือ
50,0029,017,ความห่วงใยในอารมณ์ อาลยสุคฆาตะ การถอนขึ้นด้วยดีซึ่ง
50,0029,018,อาลัย แปลว่าสิ้นอาลัยในอารมณ์หมดแล้ว ความสิ้นอาลัยก็ดี
50,0029,019,สิ้นกำหนัดก็ดี ในปิยารมนั้น ได้ผลเป็นพ้นความเกี่ยวข้องด้วย
50,0029,020,ปิยารมณ์เท่ากัน เพราะฉะนั้น ท่านจึงจัดเป็นไวพจน์ของวิราคะ ซึ่ง