|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
17,0031,001,คนอื่น สมัยแห่งธรรมีกถา ในบรรดาสมัยแห่งกรณียะทั้ง ๒ ของผู้
|
|
17,0031,002,ประชุมกัน สมัยแห่งเทศนา ในบรรดาสมัยแห่งการเทศนา และการ
|
|
17,0031,003,ปฏิบัติ สมัยใดสมัยหนึ่ง ในบรรดาสมัยเหล่านั้น จึงกล่าวว่า <B>เอกํ สมยํ</B>
|
|
17,0031,004,ดังนี้.
|
|
17,0031,005,ถามว่า ก็เพราะเหตุไร ในที่นี้ ท่านไม่ทำเหมือนอย่างในอภิธรรม
|
|
17,0031,006,ท่านทำการแสดงไขด้วยสัตตมีวิภัตติว่า <B>ยสฺมึ สมเย กามารจรํ</B> และว่า
|
|
17,0031,007,<B>ยสฺมึ สมเย ภิกฺขเว ภิกฺขุ วิวิจฺเจว กาเมหิ</B> ในสุตตบทอื่นจาก
|
|
17,0031,008,คัมภีร์นี้ และในวินัยท่านทำการแสดงไขด้วยตติยาวิภัตติว่า <B>เตน
|
|
17,0031,009,สมเยน พุทฺโธ ภควา</B> แต่ทำการแสดงไขด้วยทุติยาวิภัตติว่า <B>เอกํ สมยํ</B>
|
|
17,0031,010,ตอบว่า เพราะในที่นั้นมีความหมายเป็นอย่างนั้น แต่ในที่นี้มีความหมาย
|
|
17,0031,011,เป็นอย่างนี้ ( มีความหมายคนละอย่าง). จริงอยู่ ในบรรดาอภิธรรม
|
|
17,0031,012,เป็นต้นเหล่านั้น ในอภิธรรม และในสุตตบทอื่นนอกจากนี้ สมยศัพท์
|
|
17,0031,013,มีความหมายในอธิกรณะ ( สัตตมีวิภัตติ) และมีความหมายภาวลักษณะโดย
|
|
17,0031,014,ภาวะ. เพราะว่า สมยะ เป็นอธิกรณะ มีกาละเป็นอรรถ และมีสมูหะ
|
|
17,0031,015,เป็นอรรถ และท่านกำหนดว่าเป็นภาวะแห่งธรรมทั้งหลาย มีผัสสะ
|
|
17,0031,016,เป็นต้น ที่ท่านกล่าวไว้แล้วในที่นั้น ๆ เวลานั้น โดยภาวะแห่งสมยะ
|
|
17,0031,017,กล่าวคือ ขณะ การรวบรวมและเหตุ เพราะฉะนั้น เพื่อจะให้ใจความ
|
|
17,0031,018,นั้นกระจ่าง ท่านจึงแสดงไขเป็นสัตตมีวิภัตติในบทนั้น. จริงอยู่
|
|
17,0031,019,สมัยแห่งการบัญญัติสิกขาบทนั้นใด แม้<B>ท่านพระสารีบุตร</B>เป็นต้น ก็รู้
|
|
17,0031,020,ได้ยาก.
|
|
17,0031,021,<B>พระผู้มีพระภาคเจ้า</B>เมื่อจะทรงบัญญัติสิกขาบทโดยสมัยนั้น อัน
|
|
17,0031,022,เป็นเหตุ และเป็นกรณะ และเมื่อทรงเพ่งถึงเหตุการบัญญัติสิกขาบท
|
|
|