|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
19,0046,001,สาธยายตั้ง ๑๐ ปี ตั้ง ๒๐ ปี ก็ไม่เลือนหาย ภิกษุนี้ชื่อว่าผู้ทรงสุตะ.บท
|
|
19,0046,002,ว่า <B>สุตสนฺนิจโย</B> ได้แก่ ผู้สั่งสมสุตะ ก็สุตะอันภิกษุใดสั่งสมไว้ในหีบคือหทัย
|
|
19,0046,003,คงอยู่ดุจรอยจารึกที่ศิลา และดุจมันเหลวราชสีห์ที่เข้าใส่ไว้ในหม้อทอง ภิกษุ
|
|
19,0046,004,นี้ ชื่อว่า ผู้มีสุตะเป็นที่สั่งสม. บทว่า <B>ธตา</B> ได้แก่ ตั้งอยู่ ทรงจำไว้ ช่ำชอง
|
|
19,0046,005,จริงอยู่ พระพุทธพจน์อันภิกษุบางรูปเรียนแล้ว ทรงจำไว้ช่ำชองไม่เคลื่อน
|
|
19,0046,006,คลาด ภิกษุนั้นเมื่อใคร ๆ พูดว่าท่านจงกล่าวสูตร หรือชาดกโน้นดังนี้
|
|
19,0046,007,ย่อมกล่าวว่าเราท่อง เทียบเคียง ซักซ้อมแล้ว จักรู้ แต่สำหรับบางรูปทรงจำ
|
|
19,0046,008,ไว้ ช่ำชองเป็นเช่นกับภวังคโสต. เมื่อใครๆ กล่าวว่า ขอท่านจงกล่าวสูตร
|
|
19,0046,009,หรือชาดกโน้น เธอย่อมยกขึ้นกล่าวสูตรหรือชาดกนั้นได้ทันที. บทว่า
|
|
19,0046,010,<B>ธตา</B> ท่านหมายเอาภิกษุนั้น จึงกล่าวแล้ว. บทว่า <B>วจสา ปริจิตา</B> ได้แก่ เธอ
|
|
19,0046,011,ท่องแล้วด้วยวาจาด้วยสามารถแห่ง สุตตทสกะ วัคคทสกะ ปัณณาสทส-
|
|
19,0046,012,กะ. บทว่า <B>มนสานุเปกฺขิตา</B> ได้แก่ เพ่งด้วยจิต. เมื่อภิกษุใด คิดอยู่ด้วย
|
|
19,0046,013,ใจ ซึ่งพระพุทธพจน์ที่ตนท่องแล้วด้วยวาจา พระพุทธพจน์ย่อมปรากฏในที่
|
|
19,0046,014,นั้นๆ คือปรากฏดุจรูปปรากฏแก่บุคคลผู้ยืนตามไฟดวงใหญ่ไว้ฉะนั้น.บท
|
|
19,0046,015,ว่า <B>มนสานุเปกฺขิตา</B> นั้น ท่านหมายเอาภิกษุนั้น จึงกล่าว. บทว่า <B>ทิฏฺิยา
|
|
19,0046,016,สุปฏิวิทฺธา</B> ได้แก่ แทงตลอดด้วยดีด้วยปัญญาโดยเหตุและผล. ในบท
|
|
19,0046,017,ว่า <B>ปริมณฺฑเลหิ ปทพฺยญฺชเนหิ</B> นี้ชื่อบทพยัญชนะ เพราะทำเนื้อความ
|
|
19,0046,018,ให้ปรากฏ ทำบทนั้นให้บริบูรณ์ ด้วยอักขระ กล่าวพยัญชนะ ๑๐ อย่างไม่ให้
|
|
19,0046,019,เสียไป ชื่อว่า บทพยัญชนะราบเรียบ อีกอย่างหนึ่ง ภิกษุใด เมื่อจะแสดง
|
|
19,0046,020,ธรรมในบริษัทอ้างสูตร หรือชาดกแล้ว เอาพระสูตรหรือชาดกอื่นมา
|
|
19,0046,021,อธิบาย กล่าวอุปมาของสูตรนั้น ให้เรื่องนั้นผ่านไป จับเรื่องนี้ วางเรื่องนั้น
|
|
19,0046,022,เลี่ยงไปอธิบายไปทางหนึ่ง ได้เวลาก็ลุกขึ้น ส่วนสูตรที่เธออ้างไว้ก็เป็นสักแต่
|
|
19,0046,023,ว่าอ้างไว้เท่านั้น. ถ้อยคำของภิกษุนั้นชื่อว่า ไม่ราบเรียบ. ส่วนภิกษุใดอ้าง
|
|
19,0046,024,สูตรหรือชาดกไม่เอาบทภายในแม้บทหนึ่ง มาลบล้างอนุสนธิ สละเบื้อง
|
|
|