tripitaka-mbu / 22 /220031.csv
uisp's picture
add data
3c90236
Book,Page,LineNumber,Text
22,0031,001,ก็กรรมที่บุคคลกระทำแล้ว ชั้นที่สุดแม้ในเวลาใกล้จะตายให้ผลใน
22,0031,002,ภพอื่นได้ ทั้งหมดนั้นชื่อว่า <B>กรรมที่ให้ผลในภพต่อไป</B>. ในเรื่องวิบาก
22,0031,003,ของกรรมนั้น วิบากอันใดของฌานที่ไม่เสื่อม วิบากอันนั้นท่านกล่าวว่า
22,0031,004,วิบากที่เกิดแล้ว ในที่นี้ ท่านไม่ได้วิจารณ์ไว้ว่า กรรมที่เป็นต้นเค้ามูลของ
22,0031,005,วิบากนั้น ไม่ให้ผลในปัจจุบัน ไม่ให้ผลในสัมปรายภพ. ท่านไม่วิจารณ์ไว้
22,0031,006,ก็จริง แต่ถึงกระนั้นพึงทราบว่า กรรมนั้นให้ผลในสัมปรายภพแน่นอน.
22,0031,007,วิบากคือผลสมาบัติอันใดในลำดับแห่งการเกิดของปฐมมรรคเป็นต้น วิบากคือ
22,0031,008,ผลสมาบัติอันนั้น ท่านกล่าวว่า เป็นคุณความดีอันเกิดขึ้นแล้ว ในที่นี้. ท่าน
22,0031,009,กล่าวไว้อย่างนั้นก็จริง แต่ถึงกระนั้น มรรคกรรม พึงทราบว่าให้ผลเสร็จสิ้น
22,0031,010,ไปแล้ว เพราะมรรคเจตนาเท่านั้น ให้ผลเร็วกว่าเขาทั้งหมด เพราะเป็นผลใน
22,0031,011,ลำดับติดต่อกันไปแล.
22,0031,012,บทว่า <B>พหุเวทนียํ</B> คือ เข้าถึงสัญญภพ. บทว่า <B>อปฺปเวทนียํ</B>
22,0031,013,คือ เข้าถึงอสัญญภพ. บทว่า <B>สเวทนียํ</B> คือ กรรมที่มีผล. บทว่า <B>อเวทนียํ</B>
22,0031,014,คือ กรรมที่ไม่มีผล. บทว่า <B>เอวํ สนฺเต</B> ความว่า เมื่อกรรมที่ให้ผลใน
22,0031,015,ปัจจุบันเป็นต้นเหล่านี้ ไม่ได้เหตุแห่งความเป็นกรรมที่ให้ผลในสัมปรายภพ
22,0031,016,เป็นต้น ด้วยความพยายามมีอยู่. บทว่า <B>อผโล</B> คือไร้ผล ไร้ประโยชน์
22,0031,017,ด้วยพระดำรัสเพียงเท่านี้ พึงทราบว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงว่า ความ
22,0031,018,พากเพียรในศาสนาที่ไม่เป็นเครื่องนำสัตว์ออกจากทุกข์ไม่มีผล แล้วทรงแสดง
22,0031,019,ถึงวาทะอันเป็นเครื่องตัดความเพียร (ที่ไร้ผล). บทว่า <B>สหธมฺมิกา วาทานุ-
22,0031,020,วาทา</B> ได้แก่ วาทะของนิครนถ์อาจารย์ วาทะของนิครนถ์ศิษย์ที่มีเหตุกล่าว
22,0031,021,ไว้. บทว่า <B>คารยฺหฏฺ€านํ อาคจฺฉนฺติ</B> ได้แก่ มาถึงเหตุที่วิญญูชน
22,0031,022,ทั้งหลายจะพึงติเตียน. ปาฐะว่า <B>วาทานุปฺปตฺตา คารยฺหฏฺ€านา</B> ดังนี้ก็มี.