|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
26,0013,001,<B>พระราชาผู้ทรงชอบพระทัยในธรรมดี นรชนผู้มี
|
|
26,0013,002,ปัญญาดี การไม่ประทุษร้ายมิตรดี การไม่ทำความชั่ว
|
|
26,0013,003,เป็นสุข.</B>
|
|
26,0013,004,<B>สาธุก</B> ศัพท์นั่นแลใช้ในการกระทำให้มั่นเข้า ในประโยคเป็นต้นว่า
|
|
26,0013,005,<B>เตนหิ พฺราหฺมณ สาธุกํ สุณาหิ</B> พราหมณ์ ถ้าอย่างนั้นเธอจงสดับ
|
|
26,0013,006,ให้มั่น. สาธุก ศัพท์นี้ท่านกล่าวว่า ใช้ในการบังคับก็ได้. แต่ในที่นี้
|
|
26,0013,007,<B>สาธุก</B> ศัพท์นี้ใช้ในอรรถว่า การกระทำให้มั่นเข้าอย่างเดียว. อนึ่ง อรรถ
|
|
26,0013,008,แห่งการบังคับพึงทราบต่อไป แม้ในอรรถว่า เป็นความดีก็ใช้ได้. <B>สาธุก</B>
|
|
26,0013,009,ศัพท์ในอรรถทั้งสองงนั้นท่านแสดงไว้ด้วยอรรถแห่งการทำให้มั่นว่า <B>ทฬฺหํ
|
|
26,0013,010,อิมํ ธมฺมํ สุณาก สุคหิตํ คณฺหนฺตา</B> เมื่อจะถือเอาให้ดี พวกเธอก็
|
|
26,0013,011,จงฟังธรรมนี้ให้มั่น ด้วยอรรถแห่งการบังคับว่า <B>มม อาณตฺติยา สุณาถ</B>
|
|
26,0013,012,เธอทั้งหลายจงฟังตามคำสั่งของเรา ด้วยอรรถว่า เป็นความดีว่า <B>สุนฺทรมิมํ</B>
|
|
26,0013,013,<B>ภทฺทกํ ธมฺมํ สุณาถ</B> เธอจงฟังธรรมนี้ให้ ให้เจริญ. บทว่า
|
|
26,0013,014,<B>มนสิกโรถ</B> ความว่า จงระลึก คือประมวลมา. อธิบายว่า เธอจงมีจิต
|
|
26,0013,015,ไม่ฟุ้งซ่านตั้งใจฟัง คือทำไว้ในใจ.
|
|
26,0013,016,บัดนี้ คำว่า <B>ตํ สุณาถ</B> ในที่นี้นั้น เป็นคำห้ามการที่โสตินทรีย์
|
|
26,0013,017,ฟุ้งซ่าน. คำว่า <B>สาธุกํ มนสิกโรถ</B> เป็นคำห้ามการที่มนินทรีย์
|
|
26,0013,018,ฟุ้งซ่าน ด้วยการประกอบให้มั่นในมนสิการ ก็ใน ๒ คำนี้ คำแรกเป็น
|
|
26,0013,019,การยึดถือด้วยความคลาดเคลื่อนแห่งพยัญชนะ คำหลังเป็นการห้ามการยึด
|
|
26,0013,020,ถือความคลาดเคลื่อนแห่งเนื้อความ. พระผู้มีพระภาคเจ้าประกอบภิกษุ
|
|
26,0013,021,ไว้ในการฟังธรรมด้วยคำแรก. ทรงประกอบภิกษุไว้ในการทรงจำและ
|
|
26,0013,022,สอบสวนธรรมที่ภิกษุฟังแล้วด้วยคำหลัง. อนึ่ง ด้วยคำแรกย่อมทรง
|
|
|