|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
27,0013,001,พระอริยะทั้งหลายเห็นด้วยญาณ และไม่บรรลุธรรมที่พระอริยะบรรลุ
|
|
27,0013,002,แล้ว พึงทราบว่าไม่เห็นพระอริยะ เพราะไม่เห็นธรรมอันกระทำ
|
|
27,0013,003,ความเป็นพระอริยะ และไม่เห็นความเป็นพระอริยะ.
|
|
27,0013,004,บทว่า <B>อริยธมฺมสฺส อโกวิโท</B> ได้แก่ผู้ไม่ฉลาดในอริยธรรมต่าง
|
|
27,0013,005,โดยสติปัฏฐานเป็นต้น ก็ในคำว่า <B>อริยธมฺเม อวินีโต</B> มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้
|
|
27,0013,006,<B>ขึ้นชื่อว่าวินัย มี ๒ อย่าง ใน ๒ อย่างนี้
|
|
27,0013,007,แต่ละอย่างแบ่งเป็น ๕ อย่าง ท่านเรียกปุถุชนนี้
|
|
27,0013,008,ว่า มิได้รับแนะนำ เพราะไม่มีวินัยนั้น.</B>
|
|
27,0013,009,ก็วินัยนี้มี ๒ อย่าง คือ สังวรวินัย ๑ ปหานวินัย ๑ และในวินัย
|
|
27,0013,010,๒ อย่างนี้ วินัยแต่ละอย่างแบ่งเป็น ๕ อย่าง.
|
|
27,0013,011,แม้สังวรวินัยก็มี ๕ อย่าง คือ สีลสังวร สติสังวร ญาณสังวร
|
|
27,0013,012,ขันติสังวร วิริยสังวร.
|
|
27,0013,013,แม้ปหานวินัยก็มี ๕ อย่าง คือ ตทังคปหาน วิกขัมภนปหาน
|
|
27,0013,014,สมุจเฉทปหาน ปฏิปัสสัทธิปหาน นิสสรณปหาน.
|
|
27,0013,015,ใน ๕ อย่างนั้น สังวรในประโยคว่า <B>อิมินา ปาฏิโมกฺขสํวเรน
|
|
27,0013,016,อุเปโต โหติ สมุเปโต</B> ภิกษุเป็นผู้เข้าถึงแล้ว เข้าถึงพร้อมแล้ว ด้วย
|
|
27,0013,017,ปาฏิโมกขสังวรนี้ นี้ชื่อว่า <B>สีลสังวร</B> สังวรในประโยคว่า <B>รกฺขติ จกฺขุนฺทฺริยํ
|
|
27,0013,018,จกฺขุนฺทฺริเย สํวรํ อาปชฺชติ</B> ภิกษุย่อมรักษาจักขุนทรีย์ ถึงความสำรวม
|
|
27,0013,019,ในจักขุนทรีย์ นี้ชื่อว่า <B>สติสังวร</B> สังวรในคาถาว่า
|
|
|